“กรมฝนหลวงและการบินเกษตร “
ลิงค์: https://ehenx.com/17416/ หรือ
ตำแหน่ง: ช่างเครื่องบิน,ช่างอิเล็กทรอนิกส์,ช่างเครื่องบิน(เครื่องบินปีกตรึง),ช่างเครื่องบิน(เครื่องเฮลิคอปเตอร์),ช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 13,800-23,110
อัตราว่าง: 35
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 18 ส.ค. – 26 ส.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป
ด้วยกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภททั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไชการสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนด ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะชองกลุ่มงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ก็. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ จึงประกาศรับสมัคร บุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียดด้งต่อไปนี้
๑. ชื่อกลุ่มงาน ตำแหน่ง และรายละเอียดการจ้างงาน
ผู้ช่วยช่างเครื่องบิน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 13800- บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
ช่างอิเล็กทรอนิกส์
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 13800- บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
ช่างเครื่องบิน (เครื่องบินปีกตรึง)
อัตราว่าง : 21 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 23110- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี
ช่างเครื่องบิน (เครื่องเฮลิคอปเตอร์)
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 23110- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี
ช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 23110- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ผู้ช่วยช่างเครื่องบิน
(๑) อายุไม่เกิน ๔๕ ปีบริบุรณ์ (นับจนถึงวันที่สมัครสอบ)
(๒) ได้รับคุณรุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาชาวิชาช่างกล สาชาวิชาช่างกลโรงงาน สาชาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาชาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาชาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างท่อและโลหะแผ่น สาชาวิชาช่างปรับทั่วไป สาชาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน สาขาวิชาช่างเครื่องบิน สาขาวิชาช่างเครื่องวัดประกอบการบิน สาขาวิชา เทคโนโลยีอากาศยาน (เครื่องวัดประกอบการบิน) เหล่าทหารช่างอากาศ เอกสารหลักฐานที่จะต้องแนบไฟล์ในการสมัครทางอินเทอร์เน็ต
(๑) สำเนาประกาศนียบัตร และสำเนาระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript of Records) ที่แสดงว่า เป็นผัมีคุณวฒิการศึกษาตรงตามประกาศรับสมัคร จำนวนอย่างละ ๑ ฉบับ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะลือว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรชั้นประกาศนียบัตรชองสถานศึกษาใด จะลือตามกฎหมาย กฎ หรือระเบียบเกี่ยวกับการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษานั้นเป็นเกณฑ์ โดยจะต้องสำเร็จการศึกษาและได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจอนุมัติภายในวันปิดรับสมัคร คือ วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๕
ช่างอิเล็กทรอนิกส์
(๑) อายุไม่เกิน ๔๕ ปีบริบูรณ์ (นับจนถึงวันที่สมัครสอบ)
(๒) ได้รับคุณวฒิประกาศนืยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า สาชาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์การบิน สาชาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน) สาขาวิชาช่างเอวิโอนิกส์ สาขาวิชาสื่อสารและ โทรคมนาคม สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ สาชาวิชาเครื่องกลไฟฟ้า (ช่างไฟฟ้ากำลัง) เหล่าทหารสื่อสาร
ช่างเครื่องบิน (เครื่องบินปีกตรึง)
(๑) อายุไม่เกิน ๖๒ ปีบริบูรณ์ (นับจนถึงวันที่สมัครสอบ)
(๒) ต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์หรือทักษะความชำนาญในการซ่อม บำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง (Fix wing) เช่น โครงสร้าง ระบบเครื่องยนต์ ระบบใบทัด ระบบไฟฟ้า เครื่องวัด ประกอบการบิน ระบบไฮดรอลิก ระบบเชื้อเพสิง ระบบบังคับการบิน ระบบฐานล้อ
(๓) ได้รับคุณวุฒิประกาศนืยบัตรวิชาซีพ (ปวช.) หรือเทียบได้ในระลับเดียวกัน ในสาขาวิชาช่างกล สาชาวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟท้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชา ช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างท่อและโลหะแผ่น สาขาวิชาช่างปรับทั่วไป สาขาวิชาเตรียมวิศวกรรมการบิน ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์!นการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี หรือ
(๔) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจาก ประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาช่างกล สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างท่อและโลหะแผ่น สาขาวิชาช่างปรับทั่วไป สาขาวิชานายช่างบำรุงอากาศยาน สาขาวิชานายช่าง บำรุงรักษาอากาศยาน สาขาวิชาช่างอากาศ ประเภทที่ ๒ สาขาวิชาบำรุงรักษาเครื่องวัดประกอบการบิน ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง ๆ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๑ ปี หรือ
(๔) ได้รับคุณวุฒิประกาศบืยบัตรวิชาชีพชื่นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาช่างกล สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเทคนิค อุตสาหกรรม สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างท่อและโลหะแผ่น สาขาวิชา ช่างปรับทั่วไป สาขาวิชาช่างเครื่องวัดประกอบการบิน สาขาวิชาช่างเครื่องบิน สาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (เครื่องวัดประกอบการบิน) เหล่าทหารช่างอากาศ ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือ
(๖) ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ สาขาวิชาวิศวกรรม การซ่อมบำรุงอากาศยาน สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยาน สาขาวิชาวิศวกรรมการบิน สาขาวิชาวิศวกรรมการบิน และอวกาศ สาขาวิชาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศกรรมการวัดคุม สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม (เทคโนโลยีเครื่องกล) สาขาวิชาเทคโนโลยีช่อมบำรุงอากาศยาน สาขาวิขาเทคโนโลยีเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมช่อมบำรุงอากาศยาน สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ สาขาวิชาเครื่องมือวัดและระบบควบคุม ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง ๆ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๘ ปี หรือ
(๗) ผู้สมัครที่ไม่มีคุณวุฒิตามข้อ (๓) – (๖) ต้องได้รับประกาศนียบัตรสำเร็จการศึกษาในหลักสูตร ช่างอากาศ หลักสูตรช่างอากาศยาน หลักสูตรช่างอากาศยานทหารบก หลักสูตรช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน หลักสูตรช่างเครื่องบิน จากสถาบันที่ทางราชการรับรอง และต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการปฏิบัติงานรวมถึงมีความรู้ ความสามารถ ทักษะความชำนาญในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบินปีกตรึง ๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี
(๘) เป็นผู้มีผลการตรวจสุขภาพร่างกายและจิตวิทยการบิน ได้เกณฑ์มาตรฐานของผู้ปฏิบัติงาน บนอากาศยาน ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นช่างเครื่องบิน
ช่างเครื่องบิน (เครื่องเฮลิคอปเตอร์)
(๑) อายุไม่เกิน ๖๒ ปีบริบูรณ์ (นับจนถึงวันที่สมัครสอบ)
(๒) ต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์หรือทักษะความชำนาญในทารซ่อม บำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ (Rotary wing) เซ่น โครงสร้าง ระบบเครื่องยนต์ ระบบใบพัด ระบบไฟฟ้า เครื่องวัดประกอบการบิน ระบบไฮดรอลิก ระบบเชื้อเพลิง ระบบบังคับการบิน ระบบฐานทั้งแบบล้อและสกี ระบบถ่ายทอดกำลัง รวมถึงการปรับแล้การสั่นชองระบบเครื่องยนต์ ระบบใบพัด ระบบถ่ายทอดกำลัง
(๓) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาซีพ (ปวช.) หรือเทียบได้ในระคับเดียวลัน ในสาชาวิชาช่างกล สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอีเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชา ช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างพ่อและโลหะแผ่น สาขาวิชาช่างปรับทั่วไป สาขาวิชาเตรียมวิศวกรรมการบิน ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฯ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี หรือ
(๔) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจาก ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาช่างกล สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาชาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอีเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาชาวิชาช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างพ่อและโลหะแผ่น สาขาวิชาช่างปรับทั่วไป สาขาวิชานายช่างบำรุงอากาศยาน สาขาวิชานายช่าง บำรุงรักษาอากาศยาน สาขาวิชาช่างอากาศ ประเภทที่ ๒ สาขาวิชาบำรุงรักษาเครื่องวัดประกอบการบิน ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฯ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๑ ปี หรือ
(๕) ได้รับคุณวุฒิประกาศนืยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนิยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเพ่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาช่างกล สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิขาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอีเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาเทคนิคยานยนต์ สาขาวิชาเทคนิค อุตสาหกรรม สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างเชื่อมประสาน สาขาวิชาช่างพ่อและโลหะแผ่น สาขาวิชา ช่างปรับทั่วไป สาขาวิชาช่างเครื่องวัดประกอบการบิน สาขาวิชาช่างเครื่องบิน สาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน (เครื่องวัดประกอบการบิน) เหล่าทหารช่างอากาศ ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือ
(๖) ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ สาขาวิชาวิศวกรรม การซ่อมบำรุงอากาศยาน สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยาน สาขาวิชาวิศวกรรมการบิน สาชาวิชาวิศวกรรมการบิน และอวกาศ สาขาวิชาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศกรรมการวัดคุม สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม สาชาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล สาชาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม (เทคโนโลยีเครื่องกล) สาขาวิชาเทคโนโลยีซ่อมบำรุงอากาก็ยาน สาขาวิชาเทคโนโลยีเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิขาเทคโนโลยีวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาชาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิก็วกรรมซ่อมบำรุงอากาก็ยาน สาชาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุฅสาหการ สาขาวิชาเครื่องมือวัดและระบบควบคุม ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๘ ปี หรือ
(๗) ผู้สมัครที่ไม่มีคุณวุฒิตามข้อ (๓) – (๖) ต้องได้รับประกาศนียบัตรสำเร็จการศึกษาในหลักสูตร ช่างอากาศ หลักสูตรช่างอากาศยาน หลักสูตรช่างอากาศยานทหารบก หลักสูตรช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน หลักสูตรช่างเครื่องบิน จากสถาบันที่ทางราชการรับรอง และต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการปฏิบัติงานรวมถึงมีความรู้ ความสามารถ ทักษะความชำนาญในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฯ มาแล้วไม่นอยกว่า ๑๒ ปี
(๘) เป็นผู้มีผลการตรวจสุขภาพร่างกายและจิตวิทยการบิน ได้เกณฑ์มาตรฐานของผู้ปฏิบัติงาน บนอากาศยาน ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นช่างเครื่องบิน
ช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
(๑) อายุไม่เกิน ๖๖ ปีบริบูรณ์ (นับจนถึงวันที่สมัครสอบ)
(๖) ต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์หรือทักษะความชำนาญในการซ่อม บำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน (Avionics) ประกอบด้วย ระบบติดต่อสื่อสารบน อากาศยาน (Communication) ระบบเครื่องช่วยเดินอากาศ (Navigation) ระบบเรดาร์ตรวจอากาศ (Weather Radar) และระบบอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ดิดตั้งบนอากาศยาน
(๓) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า สาชาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาสื่อสารและโทรคมนาคม สาชาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในการซ่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี หรือ
(๔) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจาก ประกาก็นียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์การบิน สาขาวิชาบำรุงรักษาเครื่องสื่อสาร สาขาวิชาบำรุงเครื่องสื่อสารการบิน สาขาวิชาสื่อสารและโทรคมนาคม สาชาวิชาแมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (ไฟฟ้า) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (อิเล็กทรอนิกส์) ซึ่งต้องเป็นผู้มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน ๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๑ ปี หรือ
(๕) ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจาก ประกาศนึยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์การบิน สาขาวิชา เทคโนโลยีอากาศยาน (อิเล็กทรอนิกส์การบิน) สาขาวิชาช่างเอวิโอนิกส์ สาขาวิชาสื่อสารและโทรคมนาคม สาขาวิชา แมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเครื่องกลไฟฟ้า (ช่างไฟฟ้ากำลัง) เหลำทหารสื่อสาร ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือ
(๖) ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบได้ในระดับเดียวกัน สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาชาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์การบิน สาขาวิชาสื่อสาร และโทรคมนาคม สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยีไฟฟ้า) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์การบิน สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม สาขาวิชาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการซ่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบิน ประจำอากาศยาน ๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๘ ปี หรือ
(๗) ผู้สมัครที่ไม่มีคุณวุฒิตามข้อ (๓) – (๖) ต้องได้รับประกาศนียบัตรสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไฟฟ้า หลักสูตรไฟฟ้ากำลัง หลักสูตรไฟฟ้าสื่อสาร หลักสูตรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรสื่อสาร หลักสูตรสื่อสารและโทรคมนาคม หลักสูตรช่างวิทยุและโทรคมนาคม จากสถาบันที่ทาง ราชการรับรอง และต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการปฏิบัติงานรวมถึงมีความรู ความสามารถ ทักษะความชำนาญ ในการช่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี
(๘) เป็นผู้ที่มีผลการตรวจสุขภาพร่างกายและจิตวิทยาการบินไต้เกณฑ์มาตรฐานของผู้ปฏิบัติงาน บนอากาศยาน ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ผู้ช่วยช่างเครื่องบิน
(๑) ช่วยตรวจสอบ ช่วยควบคุมอุปกรณ์และชิ้นส่วนประกอบของอากาศยานที่รับผิดชอบให้มี อุปกรณ์ครบทวน และมีความเรียบร้อยพร้อมปฏิบัติการบินได้ตลอดเวลา รวมทั้งการช่วยตรวจช่อมก่อนทำการบิน และหลังทำการบิน ช่วยตรวจช่อมอากาศยานตามระยะเวลา (Schedule) และช่วยตรวจช่อมอากาศยาน ไม่ตามระยะเวลา (Unscheduled) ภายใต้การกำกับดูแลของช่างเครื่องบิน
(๒) ดำเนินการช่วยตรวจซ่อมบำรุงพัสดุการบิน
(๓) ปฏิบัติงานอน ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ช่างอิเล็กทรอนิกส์
(๑) รับผิดชอบในการตรวจสอบ แก้ไข ซ่อมบำรุงรักษาเครื่องวิทยุรับ – ส่งภาคพี้นดิน (Ground Radio Communication) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบิน (Avionics) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่!ด้รับมอบหมาย เพื่อให้สามารถไข้งานได้ตลอดเวลาและปลอดภัย
(๒) รับผิดชอบในการตรวจสอบ แก้ไข ซ่อมบำรุงรักษาเครื่องวิทยุรับ – ส่งภาคพี้นดิน (Ground Radio Communication) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบิน (Avionics) และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่เกี่ยวซ้อง ตามกำหนดเวลา (Scheduled Maintenance) นอกกำหนดเวลา (Unscheduled Maintenance) เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยในการบิน
(๓) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านพัสดุสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์การบิน เช่น การรับ การจัดเก็บ การเบิก การจ่าย เป็นต้น
(๔) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ช่างเครื่องบิน (เครื่องบินปีกตรึง)
(๑) รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงเครื่องบินปีกตรึงที่ได้รับมอบหมาย ให้สามารถพร้อมทำการบินได้ อย่างปลอดภัย
(๒) ตรวจสอบ ควบคุมอุปกรณ์และชิ้นส่วนประกอบเครื่องบินปีกตรึงที่รับผิดชอบให้มีอุปกรณ์ ครบล้วน และมีความเรียบร้อยพร้อมปฏิบัติการบินได้ตลอดเวลา รวมทั้งการตรวจก่อนทำการบิน ตรวจระหว่าง ทำการบิน และตรวจหลังทำการบิน ตรวจซ่อมอากาศยานตามระยะเวลา (Scheduled) และตรวจซ่อมอากาศยาน ไม่ตามระยะเวลา (Unscheduled)
(๓) ดำเนินการซ่อมอุปกรณ์และพัสดุการบินที่ชำรุดที่สามารถทำการซ่อมได้เองให้กลับคืนสภาพ พร้อมที่จะใช้งานได้ใหม่ โดยคำแนะนำของผู้อำนวยการกลุ่มซ่อมบำรุงอากาศยาน หัวหน้าช่างเครื่องบิน หัวหน้ากลุ่มงานซ่อมบำรุงอากาศยาน หัวหน้างานซ่อมบำรุงอากาศยาน ตามลำดับชั้น
(๔) รับผิดชอบและควบคุมให้มีการลงเวลาบิน ข้อขัดช้องและการแล้ไขในแบบฟอร์มประวัติของ เครื่องบินปีกตรึงที่!ด้รับมอบหมายให้เรียบร้อย
(๕) ควบคุมการจัดระวางบรรทุกให้เครื่องบินปีกตรึงที่ได้รับมอบหมายให้สามารถทำการบินได้โดย ปลอดภัย
(๖) ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวช้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการบินให้สำเร็จ เรียบร้อยและปลอดภัย
(๗) ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับพัสดุการบินให้ถูกต้องตามระเบียบที่ทางราชการกำหนด
(๘) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่!ด้รับมอบหมาย
ช่างเครื่องบิน (เครื่องเฮลิคอปเตอร์)
(๑) รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงเครื่องเฮลิคอปเตอร์ที่ได้รับมอบหมาย ให้สามารถพร้อมทำการบิน ได้อย่างปลอดภัย
(๒) ตรวจสอบ ควบคุมอุปกรณ์และชันส่วนประกอบเครื่องเฮลิคอปเตอร์ที่รับผิดชอบให้มีอุปกรณ์ ครบด้วน และมีความเรียบร้อยพร้อมปฏิบัติการบินได้ตลอดเวลา รวมทั้งการตรวจก่อนทำการบิน ตรวจระหว่าง ทำการบิน และตรวจหลังทำการบิน ตรวจซ่อมอากาศยานตามระยะเวลา (Scheduled) และตรวจซ่อมอากาศยาน ไม่ตามระยะเวลา (Unscheduled)
(๓) ดำเนินการซ่อมอุปกรณ์และพัสดุการบินที่ชำรุดที่สามารถทำการซ่อมได้เองให้กลับคืนสภาพ พร้อมที่จะใช้งานได้ใหม่ โดยคำแนะนำของผู้อำนวยการกลุ่มซ่อมบำรุงอากาศยาน หัวหน้าช่างเครื่องบิน หัวหน้ากลุ่มงานซ่อมบำรุงอากาศยาน หัวหน้างานซ่อมบำรุงอากาศยาน ตามลำดับชัน
(๔) รับผิดชอบและควบคุมให้มีการลงเวลาบิน ข้อชัดช้องและการแก้ไขในแบบฟอร์มประวัติของ เครื่องเฮลิคอปเตอร์ที่ได้รับมอบหมายให้เรียบร้อย
(๕) ควบคุมการจัดระวางบรรทุกให้เครื่องเฮลิคอปเตอร์ที่ได้รับมอบหมายให้สามารถทำการบินได้ โดยปลอดภัย
(๖) ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการบินใหัสำเร็จ เรียบร้อยและปลอดภัย
(๗) ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับพัสดุการบินให้ถูกต้องตามระเบียบที่ทางราชการกำหนด
(๘) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
(๑) รับผิดชอบในการตรวจสอบ แก้ไช ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำ อากาศยาน (Avionics) ตามที่Iด้รับมอบหมาย ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาและปลอดภัย
(๒) รับผิดชอบในการตรวจสอบ แก้ไช ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำ อากาศยาน (Avionics) ตามกำหนดเวลา (Scheduled Maintenance) นอกกำหนดเวลา (Unscheduled Maintenance) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการบิน
(๓) รับผิดชอบในการตรวจสอบ แก้ไช ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำ อากาศยาน (Avionics) ในความรับผิดชอบ ให้มีอุปกรณ์ครบล้วนเรียบร้อย พร้อมปฏิบัติการบินได้ตลอดเวลา รวมทั้งตรวจซ่อมก่อนทำการบิน ระหว่างทำการบิน และหลังทำการบิน
(๔) รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูล ร่วมวางแผนการจัดชื้อจัดจ้าง และจัดหาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การบินประจำอากาศยาน (Avionics)
(๔) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านพัสดุสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์การบิน เช่น การรับ การจัดเก็บ การเบิก การจ่าย เป็นต้น
(๖) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านเอกสารเทคนิค (Technical Document) ข้อมูลอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน (Avionics Equipment Specifications) เพื่อการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และแล้[ขปัญหาข้อชัดข้อง (Troubleshooting)
(๗) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
วิชาที่สอบ
ผู้ช่วยช่างเครื่องบิน
การประเมินครั้งที่ ๑ – ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของอากาศยาน – ความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยนต์ และเครื่องกล – ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างและระบบต่าง ๆ ของอากาศยาน – ความรู้เรื่องนิรภัยภาคพื้น (Ground Safety) และมนุษย์ปัจจัยกับ การซ่อมบำรุงอากาศยาน (Human Factor in Aircraft Maintenance) – ความรู้เรื่องระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกิไขเพิ่มเดิม รวมถึงประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินครั้งที่ ๒ – ทักษะการใซัคู่มือการซ่อมบำรุง (Aircraft Maintenance Manual) – ทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานในการซ่อมบำรุงอากาศยาน ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยนต์ และเครื่องกล – ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการปฏิบัติงาน
การประเมินครั้งที่ ๓
– ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมด้านต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ท,วงท่า วาจา มนุษยสัมพันธ์ ทัศนคติ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไหวพริบ ปฏิภาณ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น
ช่างอิเล็กทรอนิกส์
การประเมินครั้งที่ ๑ – ความรู้เรื่องไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – ความรู้เรื่องนิรภัยภาคพื้น (Ground Safety) และมนุษย์ปัจจัยกับ การช่อมบำรุงอากาศยาน (Human Factor in Aircraft Maintenance) – ความรู้เรื่องระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกิไขเพิ่มเดิม รวมถึงประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการฉบับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินครั้งที่ ๒ – ทักษะการใช้งานเครื่องมือวัดและทดสอบทางไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Test and Measurement Skills) – ทักษะการใช้งานหัวแรงบัดกรีไฟฟ้า (Soldering iron Skills) – ทักษะการตรวจสอบ วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ และการ แกิไขข้อขัดข้องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง – ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการปฏิบัติงาน
การประเมินครั้งที่ ๓
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมด้านต่าง ๆที่เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ห่วงท่า วาจา มนุษยสัมพันธ์ ทัศนคติ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไหวพริบ ปฏิภาณ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น
ช่างเครื่องบิน (เครื่องบินปีกตรึง)
การประเมินครั้งที่ ๑ – ความรู้เกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของเครื่องบินปีกตรึง – ความรู้เรื่องหลักอากาศพลศาสตร์ – ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและระบบต่าง ๆ ภายในเครื่องบิน ได้แก่ โครงสร้าง ระบบเครื่องยนต์ ระบบใบพัด ระบบไฟฟ้า เครื่องวัด ประกอบการบิน ระบบไอดรอลิก ระบบเชื้อเพลิง ระบบบังคับการบิน ระบบฐานล้อ – ความรู้เรื่องนิรภัยการบิน (Flight Safety) และมนุษย์ปัจจัยกับ การซ่อมบำรุงอากาศยาน (Human Factor in Aircraft Maintenance) – ความรู้ด้านพัสดุการบิน – ความรู้เรื่องระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรืว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๖๕๔๗ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม รวมถึงประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินครั้งที่ ๒ – ทักษะการใช้คู่มือการซ่อมบำรุง (Aircraft Maintenance Manual) – ทักษะการใช้งานเครื่องมือพิเศษในการซ่อมบำรุงเครื่องบินปีกตรึง – ทักษะการใช้เครื่องมือตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา และการแก่ไข ข้อชัดช้องต่าง ๆ ของเครื่องบินปีกตรึง – ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการปฏิบัติงาน
การประเมินครั้งที่ ๓
– ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมต้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ท่วงท่า วาจา มนุษยสัมพันธ์ทัศนคติ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไหวพริบปฏิภาณ และ คุณลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น
ช่างเครื่องบิน (เครื่องเฮลิคอปเตอร์)
กา-รูปรู-ะเมินครั้งที่๑ – ความรู้เกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของเครื่องเฮลิคอปเตอร์ – ความรู้เรื่องหลักอากาศพลศาสตร์ – ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและระบบต่าง ๆ ภายในเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ได้แก่ โครงสร้าง ระบบเครื่องยนต์ ระบบใบพัด ระบบไฟฟ้า เครื่องวัด ประกอบการบิน ระบบไฮดรอลิก ระบบเชื้อเพลิง ระบบบังคับการบิน ระบบฐานทั้งแบบล้อและสกี ระบบถ่ายทอดกำลัง การสมดุลอากาศยาน รวมลิงการปรับแล้การสั่นของระบบเครื่องยนต์ ระบบใบพัด ระบบ ถ่ายทอดกำลัง “ความรู้เรื่องนิรภัยการบิน (Flight Safety) และมนุษย์ปัจจัยกับ การช่อมบำรุงอากาศยาน (Human Factor in Aircraft Maintenance) – ความรู้ด้านพัสดุการบิน – ความรู้เรื่องระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แล้ไขเพิ่มเดิม รวมลิงประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินครั้งที่ ๒ – ทักษะการใช้คู่มือการซ่อมบำรุง (Aircraft Maintenance Manual) – ทักษะการใช้งานเครื่องมือพิเศษในการซ่อมบำรุงเครื่องเฮลิคอปเตอร์ – ทักษะการใช้เครื่องมือตรวจสอบ วิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไข ข้อชัดข้องต่าง ๆ ของเครื่องเฮลิคอปเตอร์ “ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการปฏึบัดิงาน
การประเมินครั้งที่ ๓ “ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมด้านต่างๆที่เป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ห่วงท่า วาจา มนุษยสัมพันธ์ ทัศนคติ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไหวพริบปฏิภาณ และ คุณลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น
ช่างอิเล็กทรอนิกส์การบิน
การประเมินครั้งที่ ๑
– ความรู้เรื่องทั่วไปเกี่ยวกับองค์ประกอบของอากาศยาน
– ความรู้เรื่องหลักการทำงาน และส่วนประกอบของอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน
– ความรู้เรื่องการซ่อมบำรุงรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำ อากาศยาน (Avionics Maintenance)
– ความรู้เรื่องนิรภัยการบิน (Flight Safety) และมนุษย์ปัจจัยกับ การซ่อมบำรุงอากาศยาน (Human Factor in Aircraft Maintenance)
– ความรู้เรื่องพัสดุอิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน – ความรู้เรื่องระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม รวมถึงประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการที่เกี่ยวข้อง
การประเมินครั้งที่ ๒ – ทักษะการใช้คู่มือการซ่อมบำรุง (Aircraft Maintenance Manual) – ทักษะการใซังานเครื่องมือและเครื่องมือวัดในการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน (Avionics) -ทักษะการใซังานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์การบินประจำอากาศยาน (Avionics) การตรวจสอบ วิเคราะห์บีญหา และการแก้ไขข้อขัดข้อง (Troubleshooting) ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง – ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการปฏิบัติงาน
การประเมินครั้งที่ ๓ – ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมด้านต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ท่วงท่า วาจา มนุษยสัมพันธ์ ทัศนคติ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไหวพริบ ปฏิภาณ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 18 ส.ค. – 26 ส.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร