แนวข้อสอบครูอาชีวศึกษา สอบความรู้ความสามารถทั่วไป + ภาคความเป็นครู
1. พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียนเกิดจากสาเหตุใด?
ก.ไม่ได้เรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียง ข.มีพ่อแม่คอยเคี่ยวเข็ญ
ค.สิ่งแวดล้อมชักจูง ง.มีจริยธรรมต่ำ
ตอบ ง. มีจริยธรรมต่ำ
2. คุณธรรมสำหรับครูคือข้อใด?
ก. คุณงามความดีของคนที่เป็นครู ข. มีพฤติกรรมที่ดีเป็นที่ยอมรับของสังคม
ค. มีความเสียสละมีความยุติธรรม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
3. จริยธรรม ตามพจนานุกรมราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึงข้อใด?
ก. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ข. คำสั่งสอน
ค. หลักปฏิบัติในทางศาสนา ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
4. ความรู้จริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. การมีความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ
ข. การแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่อสังคม
ค. ความรู้เกี่ยวกับสังคมสามรถบอกได้ว่า การกระทำใดดี การกระทำใดไม่ดีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด WWW.actcorner.com
ง. เหตุผลที่ใช้เป็นเกณฑ์ใสการเลือกหรือไม่เลือกกระทำ
ตอบ ค. ความรู้เกี่ยวกับสังคมสามรถบอกได้ว่า การกระทำใดดี การกระทำใดไม่ดีเหมาะสม
มากน้อย เพียงใด
5. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. การแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของสังคม
ข. เบื้องหลังการกระทำของบุคคลใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือกกระทำ
ค. ความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ ในทางที่ชอบหรือไม่ชอบ
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. การแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ของสังคม
6. ความสัมพันธ์ของคุณธรรมและจริยธรรมหมายถึงข้อใด?
ก. เป็นเรื่องเดียวกัน ข. เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน
ค. เป็นเรื่องการกระทำของบุคคล ง. เป็นเรื่องที่อยู่ในจิตใจของบุคคล
ตอบ ข. เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน
7. พัฒนาการทางจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
ตอบ ข. 3 ขั้น
8. ขั้นก่อนจริยธรรมของPaigaetหมายถึงข้อใด? อ.วันนรัตน์ เเอ๊คกรุ๊ป
ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
ข.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 2-6 ปี
ค.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 6-10 ปี
ง.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 10-15 ปี
ตอบ ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
9. ขั้นการให้เหตุผลเชิงพฤติกรรมของ Kohlberg ระดับตามเกณฑ์สังคม อายุ 10-13 ปีตรงกับข้อใด?
ก. การหลบหลีกการลงโทษ ข. การแสวงหารางวัล
ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ ง. การทำตามคำมั่นสัญญา
ตอบ ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ
10. ขั้นการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlbergขั้นที่ 6 หมายถึงข้อใด?
ก. การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
ข. การทำหน้าที่ทางสังคมหรือระบบสังคมและมโนธรรม
ค. การทำตามคำสัญญาและสิทธิ
ง. การแสวงหารางวัลหรือการตอบสนองตามความต้องการ
ตอบ ก.การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
11. คุณธรรมข้อใดไม่จัดอยู่ตามแนวคิด อริสโตเติล?
ก. ความรอบคอบ ข. การรู้จักประมาณ
ค. การอดทน ง. ความยุติธรรม
ตอบ ค. การอดทน
12. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัส”การรู้จักข่มใจ”หมายถึงข้อใด?
ก. ความจริงใจต่อตนเอง ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
ค. การประพฤติปฏิบัติต่อสิ่งที่เป็นประโยชน์ ง. รู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนร่วม
ตอบ ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
13. สังคหวัตถุ 4 คือ คุณธรรมในข้อใด?
ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน ข. เป็นเครื่องทำให้ประสบความสำเร็จ
ค. เป็นคุณธรรมของผู้ครองเรือน ง. เป็นคุณธรรมของผู้เป็นผู้ใหญ่
ตอบ ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน
14. คุณธรรมที่ทำให้ประสบความสำเร็จ หมายถึง ข้อใด?
ก. พรหมวิหาร 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. ธรรมของฆราวาส 4 ง. อิทธิบาท 4
ตอบ ง. อิทธิบาท 4
15. การที่คนเรารู้จักแยกแยะว่าสิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุขสิ่งนี้เป็นแห่งเหตุตรงกับสัปปุริธรรม 7 ข้อใด?
ก. อัตตญญุตา ข. ธัมมัญญุตา
ค. อัตถัญญตา ง. มัตตัญญุตา
ตอบ ข. ธัมมัญญุตา
16. ธรรมใดเป็นเครื่องคุ้มครองโลก?
ก. ขันติ ข. โสรัจจะ
ค. หิริโอตัปปะ ง. สัจจะ
ตอบ ค. หิริโอปตัปปะ
17.อคติ 4 คือ คุณธรรมข้อใด?
ก. ธรรมที่ควรรักษาไว้เป็นนิจ ข. ธรรมของผู้ครองเรือน
ค. ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน ง. ธรรมที่ไม่ควรประพฤติ
ตอบ ง. ธรรมที่ไม่ควรประพฤติ
18. โทสาคติ หมายถึงข้อใด?
ก. ลำเอียงเพราะรักใคร่ ข. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน
ค. ลำเอียงเพราะเขลา ง. ลำเอียงเพราะกลัว
ตอบ ข. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน
19. สิ่งใดสามารถยับยั้งความโกรธได้?
ก. เมตตา กรุณา ข. มุทิตา อุเบกขา
ค. สติ สัมปัญชัญญะ ง. ฉันทะ วิริยะ
ตอบ ค. สติ สัมปัญชัญญะ
20. ผลดีของการมีสติหมายถึง ข้อใด?
ก. รู้ว่าใครจะทำอะไร ข. รู้เหตุการณ์ล่วงหน้า
ค. รู้ว่าตนเองกำลังทำอะไร ง. รู้อดีตชาติของตนเอง
ตอบ ค. รู้ว่าตนเองกำลังทำอะไร
21. การที่คนเรามีใจจ่ออยู่สิ่งที่กระทำ มีความหมายตรงกับข้อใด?
ก. มีศีล ข. มีสมาธิ ค. มีปัญญา ง. มีสติ
ตอบ ข. มีสมาธิ
22. ศีลในข้อใดทำให้คนเรามีสติ?
ก. ศีลข้อ 1 ข. ศีล 3 ข้อ ค. ศีล 4 ข้อ ง. ศีล 5 ข้อ
ตอบ ง. ศีล 5 ข้อ
23. ความจริง หรือความเสื่อมของสังคม วัดได้จากอไร?
ก. ค่านิยม ข. วัฒนธรรม
ค. ความสามัคคี ง. กฎหมายระเบียบข้อบังคับ
ตอบ ข. วัฒนธรรม
24. ค่านิยมในชนบท หมายถึงข้อใด? อ.สุวรรณกร เเอ๊คกรุ๊ป
ก. เห็นแก่ตัวไม่เชื่อใจใคร ข. ชอบจัดพิธีชอบแข่งขัน
ค. เชื่อโชคลาภรักญาติพี่น้อง ง. รักเทิดทูนสถาบันชาติ
ตอบ ค. เชื่อโชคลาภรักญาติพี่น้อง
25. ค่านิยมของสังคมเมืองมีลักษณะใด?
ก. เชื่อถือโชคลาง ข. เห็นแก่ตัวไม่เชื่อใจใคร
ค. พึ่งพาอาศัยกัน ง. เป็นส่วนตัวมากเกินไป
ตอบ ข. เห็นแก่ตัวไม่เชื่อใจใคร
26. ค่านิยม เกิดขึ้นจากสาเหตุใด?
ก. วัฒนธรรม ข. ประเพณี
ค. ความคิด ง. การยอมรับ
ตอบ ง. การยอมรับ
27. ค่านิยมทางจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. ทำให้เกิดความรับผิดชอบชั่วดี ข. ทำให้เกิดความซาบซึ้ง
ค. ทำให้เกิดความรักความเข้าใจ ง. ทำให้ชีวิตและร่างกายอยู่รอด
ตอบ ก. ทำให้เกิดความรับผิดชอบชั่วดี
28. ค่านิยมทางวัตถุ หมายถึง ข้อใด?
ก. พรหมวิหาร 4 ข. ปัจจัย 4
ค. อิทธิบาท 4 ง. อริยสัจ 4
ตอบ ข. ปัจจัย 4
29. ค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับความสมบรูณ์ของชีวิตและความศรัทธา?
ก. ค่านิยมทางจริยธรรม ข. ค่านิยมทางสังคม
ค. ค่านิยมทางศาสนา ง. ค่านิยมทางวัตถุ
ตอบ ค. ค่านิยมทางศาสนา
30. ค่านิยมที่นักวิทยาศาสตร์พยายามค้นหากฎหมายแห่งธรรมชาติ?
ก. ค่านิยมทางสังคม ข. ค่านิยมทางศาสนา
ค. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ ง. ค่านิยมทางความจริง
ตอบ ง. ค่านิยมทางความจริง
31. Moral values หมายถึงข้อใด?
ก. ค่านิยมทางศาสนา ข. ค่านิยมทางวัตถุ
ค. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ ง. ค่านิยมทางความจริง
ตอบ ค. ค่านิยมทางจริยธรรม
32. สาโรธ บังศรี จำแนกค่านิยม ออกเป็น 2 ประเภท คือข้อใด?
ก. ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมทางศาสนา ข. ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมทางความจริง
ค. ค่านิยมทางพื้นฐาน, ค่านิยมทางสังคม ง. ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมวิชาชีพ
ตอบ ง. ค่านิยมพื้นฐาน,ค่านิยมวิชาชีพ
33. ค่านิยมใดมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในสังคมมากที่สุด?
ก. ค่านิยมทางวัตถุ ข. ค่านิยมทางความจริง
ค. ค่านิยมทางสังคม ง. ค่านิยมทางจริยธรรม
ตอบ ก. ค่านิยมทางวัตถุ
34. ค่านิยมเป็นตัวกำหนดสิ่งใด ของคนในสังคม?
ก. การตอบสนอง ข. พฤติกรรม
ค. การยอมรับ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. การตอบสนอง พฤติกรรม การยอมรับ
35. “สังคมใดที่มีค่านิยมถกต้องเหมาะสม สังคมนั้นย่อมมีความเจริญก้าวหน้า” คำกล่าวนี้ หมายถึงข้อใด?
ก. ค่านิยมไม่มีผลกระทบต่อความเจริญ
ข. ค่านิยมมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
ค. ค่านิยมมีผลกระทบต่อความเจริญและความเสื่อมของสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ง. ค่านิยมมีผลกระทบต่อความเจริญและเศรษฐกิจเพียงเล็กน้อย
ตอบ ค. ค่านิยมมีผลกระทบต่อความเจริญและความเสื่อมของสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
36. “ค่านิยมวิชาชีพ” หมายถึงข้อใด?
ก. มีวินัยและอุดมการณ์ในวิชาชีพของตน
ข. มีเอกลักษณะในวิชาชีพของตน
ค. มีบทบาทในวิชาชีพของตน
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. มีวินัยและอุดมการณ์ในวิชาชีพของตน
37. ค่านิยมของความเป็นเจ้าขุนมูลนาย มียศถาบรรดาศักดิ์ เป็นค่านิยมแบบใด?
ก. ค่านิยมในการยอมรับนับถือ ข. ค่านิยมแบบศักดินา
ค. ค่านิยมทางวัฒนธรรม ง. ค่านิยมตามกระแสและสภาวะสังคม
ตอบ ข. ค่านิยมแบบศักดินา
38. ค่านิยม ยอมรับเรื่องบุญวาสนา กรรมเก่า เชื่อถือโชคลาภ เป็นค่านิยมสังคมไทยในข้อใด?
ก. สังคมชั้นกลาง ข.สังคมชั้นสูง
ค. สังคมชนบท ง. สังคมเมือง
ตอบ ค. สังคมชนบท
39. พิธีรดน้ำในการสมรส การทำขวัญนาค เป็นค่านิยมของศาสนาใด?
ก. ศาสนาพราหมณ์ ข. ศาสนาพุทธ
ค. ศาสนาฮินดู ง. ศาสนาอิสลาม
ตอบ ก. ศาสนาพราหมณ์
43. อารยธรรมใดมีผลต่อค่านิยมสังคมไทยมากที่สุด?
ก. เอเชียตะวันออก ข. เอเชียกลาง
ค. ยุโรปตะวันตก ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ค. ยุโรปตะวันตก
44.การซื้อของใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน หมายถึงข้อใด?
ก. ความนิยมทางความจริง ข. ค่านิยมทางวัตถุ
ค. ค่านิยมทางสังคม ง. ค่านิยมทางพื้นฐาน
ตอบ ข. ค่านิยมทางวัตถุ
45. ค่านิยมใด สมควรแก้ไขในสังคมไทย?
ก. การเคารพผู้อาวุโส ข. การให้ความสำคัญกับเงินมากเกินไป
ค. การพึ่งพาอาศัยร่วมมือกัน ง. การพึ่งพาศักดิ์สิทธิ์ โชคลาภ
ตอบ ข. การให้ความสำคัญกับเงินมากเกินไป
46.ความแตกต่างระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมือง เห็นได้ชัดที่สุดคือข้อใด?
ก. ความซื่อสัตย์สุจริต ข. ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ค. ความสามัคคี ง. ความกตัญญูกตเวที
ตอบ ข. ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
47. เมื่อสภาพสังคมเปลี่ยนค่านิยมจะเป็นเช่นไร?
ก. เปลี่ยนแปลงไปตามสังคม ข. คงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ค. เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ง. เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ตอบ ก. เปลี่ยนแปลงไปตามสังคม
48. ค่านิยมเป็นตัวชี้วัดความเปลี่ยนแปลงให้แก่สังคมในด้านใดมากที่สุด
ก. เศรษฐกิจ ข. วัฒนธรรม
ค. ความก้าวหน้า ง. การศึกษา
ตอบ ข.วัฒนธรรม
49. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ เป็นความหมายของข้อใด?
ก. คุณธรรม ข. จริยธรรม
ค. วัฒนธรรม ง. ศีลธรรม
ตอบ ข. จริยธรรม
50. สภาพคุณงามความดีในจิตใจ เป็นความหมายของข้อใด?
ก. คุณธรรม ข. จริยธรรม
ค. วัฒนธรรม ง. ศีลธรรม
ตอบ ก. คุณธรรม