“กทม. “
ลิงค์: https://ehenx.com/16370/ หรือ
ตำแหน่ง: ครู
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,050-15,800
อัตราว่าง: 35
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 25 ก.พ. – 6 มี.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กทม. เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕
ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) จะดำเนินการสอบ แช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๙ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร-
และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู-และบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย จึงประกาศรับสมัครสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและ แต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ดังต่อไปนี้
ครูผู้ช่วย
อัตราว่าง : 35 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15050 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
1. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 12 อัตรา
2. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง จำนวน 5 อัตรา
3. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาช่างยนต์ จำนวน 5 อัตรา
4. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีโทรคมนาคม จำนวน 7 อัตรา
5. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย จำนวน 2 อัตรา
6. ครูผู้ช่วย กลุ่มวิชาอาหารและโภชนาการ จำนวน 4 อัตรา
1. ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ให้ได้รับอัตราเงินเดือน ขั้น 15,050 บาท
2. ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี ให้ได้รับอัตราเงินเดือน ขั้น 15,800 บาท
3. ตำแหน่งครูผู้ช่วย สำหรับผู้มีวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี และประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่มีหลักสูตรการศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี ต่อจากวุฒิปริญญาตรี ให้ได้รับอัตราเงินเดือน ขั้น 15,800 บาท
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ครูผู้ช่วย
1. มีคุณวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา หรือปริญญาตรีสาขาอื่นที่ ก.ค.ศ. รับรอง และกำหนดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งครูผู้ช่วย และมีคุณวุฒิปริญญาตรี กลุ่มวิชาหรือทางหรือ สาขาวิชาเอกตามที่เปิดรับสมัครดังระบุไว้ในรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ ซึ่งคุณวุฒิดังกล่าวต้องได้รับอนุมัติ จากผู้มีอำนาจอนุมัติปริญญาตรีแล้วว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาอยู่ก่อนหรือไม่หลังวันเปิดรับสมัครสอบแข่งขัน วันสุดท้ายคือวันที่ 6 มีนาคม 2565
2. เป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูหรือใบอนุญาตปฏิบัติการสอนออกให้โดย คุรุสภาตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และต้องได้รับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครูหรือใบอนุญาตปฏิบัติการสอนจากคุรุสภาอยู่ก่อนหรือไม่หลังวันเปิดรับสมัครสอบแข่งขันวันสุดท้าย คือวันที่ 6 มีนาคม 2565 และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูต้องมีอายุใช้ได้จนถึงวันที่ได้รับการบรรจุ และแต่งตั้ง
3. พระภิกษุหรือสามเณร ทางราชการไม่รับสมัครสอบและไม่อาจให้เข้าสอบแข่งขัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครได้ ทั้งนี้ ตามหนังสือกรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร ที่ นว 89/2501 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2501 และ ตามความในข้อ 5 ของคำสั่งมหาเถรสมาคม ลงวันที่ 17 มีนาคม 2538
*** กรณีที่ชื่อสาขาวิชาเอกไม่เป็นไปตามบัญชีรายละเอียดข้างต้น ให้ปฏิบัติตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 13 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2564
อนึ่ง กรณีหลักฐานการศึกษามิได้ระบุสาขาวิชาเอกที่ศึกษาไว้ หรือระบุไว้แตกต่างจากประกาศรับสมัคร ให้พิจารณาตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 13 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2564 ซึ่งมติ ก.ก. ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 รับทราบให้นำมาใช้กับกรุงเทพมหานครโดยอนุโลม โดยให้ดำเนินการนับหน่วยกิต รายวิชาที่ศึกษาที่ตรงกับประเภทวิชา หรือกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ที่ประกาศรับสมัครจากใบรายงานผลการศึกษา หรือระเบียบแสดงผลการศึกษา (Transcript) ดังนี้
1. ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี และหลักสูตร 5 ปี ให้นับหน่วยกิต ในรายวิชานั้น ๆ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
2. ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 2 ปี หลักสูตรต่อเนื่อง ให้นับหน่วยกิตในรายวิชานั้น ๆ ในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต และในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าไม่เกิน 10 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
รายละเอียดเกี่ยวกับกลุ่มวิชาและจำนวนตำแหน่งที่เปิดรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อ บรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการลึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ชวย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕
(แนบท้ายประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร ลงวันที่6$ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ เรื่อง รับสมัครสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕)
๑. กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๑ คอมพิวเตอร์ ๑.๒ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
๑.๓ คอมพิวเตอร์ศึกษา ๑.๔ คอมพิวเตอร์เพื่อการบัญชี
๑.๕ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ๑.๖ เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๗ ระบบสารสนเทศ ๑.๘ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๙ การจัดการระบบสารสนเทศ ๑.๑๐ การจัดการสารสนเทศคอมพิวเตอร์
๑.๑๑ เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ ๑.๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต
๑.๑๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและ ๑.๑๔ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
การประเมินผลการศึกษา
๑.๑๕ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑.๑๖ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
๑.๑๗ วิทยาการสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ๑.๑๘ วิศวกรรมสารสนเทศ
๑.๑๙ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๑.๒๐ สารสนเทศศึกษา
๑.๒๑ สารสนเทศศาสตร์ ๑.๒๒ ธุรกิจคอมพิวเตอร์
๑.๒๓ คอมพิวเตอร์อาร์ต – ๑.๒๔ ศาสตร์คอมพิวเตอร์
๑.๒๕ คอมพิวเตอร์ประยุกต์ ๑.๒๖ คอมพิวเตอร์และสถิติ
๑.๒๗ คอมพิวเตอร์การศึกษา ๑.๒๘ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
๑.๒๙ คอมพิวเตอร์สารสนเทศ ๑.๓๐ เทคโนโลยีและสารสนเทศ
๑.๓๑ นวัตกรรมและคอมพิวเตอร์ ๑.๓๒ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
๑.๓๓ ธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา ๑.๓๔ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
๑.๓๕ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ๑.๓๖ วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์
๑.๓๗ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๑.๓๘ ระบบและการจัดการสารสนเทศ
๑.๓๙ นวัตกรรมและคอมพิวเตอร์ศึกษา ๑.๔๐ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม
๑.๔๑ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา ๑.๔๒ การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
๑.๔๓ สารสนเทศทั่วไปและสารสนเทศ- ๑.๔๔ วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี-
สำนักงาน สารสนเทศ
๑.๔๕ วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอก
๒. กลุ่มวิชาช่างไฟ,ฟ้ากำลัง
๒.๑ ช่างไฟฟ้า ๒.๒ ไฟฟ้ากำลัง
๒.๓ วิศวกรรมไฟฟ้า ๒.๔ เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม
๒.๕ อุตสาหกรรมศิลป๋ (ไฟฟ้า) ๒.๖ วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต
๒.๗ เทคโนโลยีไฟฟ้า ๒.๘ อุตสาหกรรม (ไฟฟ้า)
๒.๙ ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ๒.๑๐ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
๒.๑๐ วิศวกรรมไฟฟ้าและการศึกษา
๓. กลุ่มวิชาช่างยนต์
๓.๑ เครื่องกล ๓.๒ วิศวกรรมยานยนต์
๓.๓ วิศวกรรมเครื่องกล ๓.๔ เทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง
๓.๕ เทคนิคช่างยนต์ ๓.๖ อุตสาหกรรมศิลป้ (ช่างยนต์)
๓.๗ เทคโนโลยีอุตสาหการ (ช่างยนต์) ๓.๘ เทคโนโลยียานยนต์
๓.๙ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ๓.๑๐ วิศวกรรมขนถ่ายวัสดุ (ช่างยนต์)
(เทคโนโลยีเครื่องกล)
๓.๑๑ วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร ๓.๑๒ เทคโนโลยีเครื่องกล
๓.๑๓ เทคนิคยานยนต์
๔. กลุ่มวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีโหรคมนาคม
๔.๑ อิเล็กทรอนิกส์ ๔.๒ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
๔.๓ อุตสาหกรรมศิลป็ (อิเล็กทรอนิกส์) ๔.๔ ไฟฟ้าสื่อสาร
๔.๕ อุตสาหกรรมศิลป๋ (ไฟฟ้าลื่อสาร) ๔.๖ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
๔.๗ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ๔.๘ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
๔.๙ วิศวกรรมโทรคมนาคม ๔.๑๐ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
๔.๑๑ เทคโนโลยีโทรคมนาคม
๕. กลุ่มวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย
๕.๑ ผ้าและเครื่องแต่งกาย ๕.๒ คหกรรม (ผ้าและเครื่องแต่งกาย)
๕.๓ แฟชั่นเทคโนโลยีเสื้อผ้า ๕.๔ ออกแบบแฟชั่นและการจัดการสินค้า
๕.๕ ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ๕.๖ ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ
๕.๗ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ๕.๘ ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย
๕.๙ มัณฑนศิลป็ (แฟชั่นดีไซน์) ๕.๑๐ เทคโนโลยีเสื้อผ้า
๕.๑๑ วิศวกรรมเครื่องนุ่งห่ม ๕.๑๒ ออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น
๕.๑๓ อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกาย ๕.๑๔ เทคโนโลยีการออกแบบแฟชั่น
๕.๑๕ ออกแบบแฟชั่น ๕.๑๖ เทคโนโลยีการจัดการสินค้าแฟชั่น
๕.๑๗ ออกแบบแฟชั่นและการจัดการสินค้า ๕.๑๘ การออกแบบเครื่องแต่งกาย
๕.๑๙ ศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์
๖. กลุ่มวิชาอาหารและโภชนาการ
๖.๑ อาหารและโภชนาการ ๖.๒ โภชนาการชุมชน
๖.๓ โภชนบำบัด ๖.๔ โภชนวิทยา
๖.๕ เทคโนโลยีการจัดการและบริการอาหาร ๖.๖ ธุรกิจอาหาร
๖.๗ อุตสาหกรรมอาหารและบริการ ๖.๘ เทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ
๖.๙ คหกรรมศาสตร์ทั่วไป ๖.๑๐ คหกรรมศาสตร์ศึกษา
(สาขาอาหารและโภชนาการ)
๖.๑๑ ธุรกิจคหกรรมศาสตร์ ๖.๑๒ การจัดการงานคหกรรม
๖.๑๓ เทคโนโลยีการประกอบอาหารและ-การบริการ
– วิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อสาขาวิชาเอก
– กรณีที่ชื่อสาขาวิชาเอกไม่เป็นไปตามบัญชีรายละเอียดข้างต้น ให้ปฏิบัติตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. . ที่ ศธ ๐๒๐๖.๖/ว ๑๓ ลงวันที่ ๒๔ พฤษฺภาคม ๒๔๖๔
วิชาที่สอบ
หลักสูตรการสอบแช่งขัน ประกอบด้วย ภาค ก. ภาค ข. และภาค ค. (คะแนนทั้งหมด ๕๐๐ คะแนน) ภาค ก. ความรอบรู้ ความสามารถทั้วไป และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและการปฏิบัติของ วิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรอบรู้ (คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย
ในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
๑.๒ นโยบายของรัฐบาลและของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
๑.๓ วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
๑.๔ กฎหมาย (พระราชบัญญัติ) ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
๑.๔.๑ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
๑.๔.๒ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร่
๑.๔.๓ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร
๑.๔.๔ กฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑.๔.๕ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑.๔.๖ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก
๑.๔.๗ กฎหมายว่าด้วยการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
๒. ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
๒.๑ ความสามารถด้านตัวเลข ให้ทดสอบความสามารถในการคิดเลข สรุปเหตุผลเกี่ยวกับตัวเลข และข้อมูลต่าง ๆ
๒.๒ ความสามารถด้านภาษาไทย ให้ทดสอบความเข้าใจภาษา การอ่านจับใจความ การสรุปความ การตีความ การขยายความ การเรียงข้อความ การสะกดคำ การแต่งประโยค และคำศัพท์
๒.๓ ความสามารถด้านเหตุผล ให้ทดสอบความสามารถในการคิดสรุปเหตุผล และอุปมาและอุปไมย ๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
๓.๑ วินัยและการรักษาวินัย
๓.๒ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
๓.๓ มาตรฐานการ.ปฏิบัติงานของวิชาชีพครู
๓.๔ จรรยาบรรณวิชาชีพครู
๓.๕ สมรรถนะวิชาชีพครู
ภาค ข. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการ สอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
๑.๑ หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
๑.๒ หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
๑.๓ จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
๑.๔ การพัฒนาผู้เรียน
๑.๕ การบริหารจัดการชั้นเรียน
๑.๖ การวิจัยทางการศึกษา
๑.๗ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๑.๘ การวัดและประเมินผลการศึกษา
๒. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาเอก (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ให้ทดสอบด้วยวิธีการ สอบข้อเขียนแบบปรนัย และหรือภาคปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้ในเนื้อหา กลุ่มวิชาหรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
ภาค ค. ความเหมาะสมกับตำแหน่งและวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
๑. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๕๐. คะแนน) ให้ทดสอบเกี่ยวกับภาวะทางอารมณ์ ด้วยวิธีการสอบข้อเขียน
๒. ความเหมาะสมกับวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) ให้ประเมินด้วยวิธีการสัมภาษณ์ สังเกต ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง หรือวิธีอื่นที่เหมาะสม โดยประเมินจาก
๒.๑ ประวัติส่วนตัวและการศึกษา
๒.๒ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๒.๓ บุคลิกลักษณะ
๒.๔ การมีปฏิภาณ ห่วงทีวาจา
๒.๕ เจตคติและอุดมการณ์
ตารางกำหนดการสอบแข่งชันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการดรูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ (แนบท้ายประกาศสำนักงานคณะก่รรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร ลงวันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา-กรุงเทพมหานคร ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักพัฒนาสังคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕)
วัน / เวลา วิชาที่สอบ หมายเหตุ
วันสอบข้อเขียน (วันแรก) (ภาคเช้า) ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. (ภาคบ่าย) ๑๔.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ภาค ก (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) – วิชาความรอบรู้ (๗๕ คะแนน) – วิชาความสามารถทั่วไป (๕๐ คะแนน) – วิชาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประพฤติและ การปฏิบัติของวิชาชีพครู (๗๕ คะแนน)
วันสอบข้อเขียน (วันที่สอง) (ภาคเช้า) ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. (ภาคบ่าย) ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ๑๕.๑๐ – ๑๕.๓๐ น. ภาค ข (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) -วิชาความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา (๑๐๐ คะแนน) -วิชาความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาเอก (๑๐๐ คะแนน) ภาคค๑ (คะแนนเต็ม ๕๐” คะแนน) – ความเหมาะสมกับตำแหน่ง ทดสอบเกี่ยวกับ ภาวะทางอารมณ์
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม. :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 25 ก.พ. – 6 มี.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กทม.
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร