“กรมราชทัณฑ์“
ลิงค์: https://ehenx.com/1646/ หรือ
ตำแหน่ง: รวม165อัตรา,นักทัณฑวิทยา,นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ,เจ้าพนักงานราชทัณฑ์,เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 10,840-16,500
อัตราว่าง: 165
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 24 ธ.ค. – 18 ม.ค. 2562
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมราชทัณฑ์ เปิดรับสมัครสอบ
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในสังกัดกรมราชทัณฑ์
ด้วยกรมราชทัณฑ์ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในสังกัดกรมราชทัณฑ์ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ตำแหน่ง นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
จำนวน 13 อัตรา
คุณวุฒิ ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน 15,000-16,500 บาท
ตำแหน่ง นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ (งานควบคุมผู้ต้องขังหญิงและอื่นๆ)
จำนวน 2 อัตรา
คุณวุฒิ ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน 15,000-16,500 บาท
ตำแหน่ง นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพปฏิบัติการ
จำนวน 25 อัตรา
คุณวุฒิ ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน 15,000-16,500 บาท
ตำแหน่ง เจ้พานักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
จำนวน 100 อัตรา
คุณวุฒิ ปวส.
อัตราเงินเดือน 10,840-12,650 บาท
ตำแหน่ง เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพปฏิบัติงานอื่นๆ)
จำนวน 25 อัตรา
คุณวุฒิ ปวส.
อัตราเงินเดือน 10,840-12,650 บาท
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
- เป็นผู้ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา และ
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไปของสำนักงาน ก.พ. และ
- เป็นชายที่มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า 165 เซนติเมตร และรอบอก ไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร แต่ถ้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดไว้ไม่เกิน 2 เซนติเมตร ก็ให้ใช้ได้โดยอนุโลม เมื่อจำนวนรวมไม่น้อยกว่า 245 เซนติเมตร
- เป็นผู้ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา และ
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ. และ
- เป็นหญิงที่มีร่างกายแข็งแรงเหมาะสมแก่หน้าที่ควบคุมผู้ต้องขัง โดยมีส่วนสูงไม่น้อยกว่า 155 เซนติเมตร
- เป็นผู้ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ.
- เป็นผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจาประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย ทุกสาขา และ
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับ ปวท. ระดับอนุปริญญา และระดับ ปวส. ขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ.
- เป็นชายที่มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า 165 เซนติเมตร และรอบอก ไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร แต่ถ้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดไว้ไม่เกิน 2 เซนติเมตร ก็ให้ใช้ได้โดยอนุโลม เมื่อจำนวนรวมไม่น้อยกว่า 245 เซนติเมตร
- เป็นผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจาประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย ทุกสาขา และ
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับ ปวท. ระดับอนุปริญญา และระดับ ปวส. ขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ.
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานรดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงานปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัิงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ มาตรการ หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับด้านทัณฑวิทยา และทัณฑปฏิบัติการ และดำเนินการให้เป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนนโยบายของทางราชการ
- ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ และดำเนินงานทัณฑวิทยาและทัณฑปฏิบัติในเรือนจำและสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และมาตรการที่กำหนด
- ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำมาตรฐานหลักสูตร กิจกรรม และคุณสมบัติผู้ต้องขังตลอดจนจัดการศึกษา อบรม พัฒนาพฤตินิสัย พัฒนาจิตใจ และฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง เพื่อการบำบัดฟื้นฟูหรือแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
- ดำเนินการรวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับสถิติผู้ต้องขังเพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย และสนับสนุนการบริหารงานของหน่วยงาน
- ดำเนินการสืบสวน สอบสวน เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงกรณีผู้ต้องขังกระทำผิดวินัยและเสนอแนะการลงโทษทางวินัยดังกล่าว
- ดำเนินการจัดทำเอกสาร บทความ กิจกรรมต่างๆ ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการเรียนรู้ร่วมกันของข้าราชการและผู้สนใจ
- ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมเอกสารเกี่ยวกับกิจการราชทัณฑ์ นวัตกรรมใหม่ๆ ติดตามความก้าวหน้าของทัณฑวิธีภายในประเทศและต่างประเทศ และเสนอแนะให้นำวิธีการที่เหมาะสม เพื่อนำมาปรับใช้ในงานราชทัณฑ์ของประเทศไทย
- ดำเนินการควบคุม ดูแลความเป็นอยู่และจัดสวัสดิการให้กับผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถดำรงชีพได้อย่างปกติและเหมาะสมตามมาตรฐานที่กำหนด
- ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และมาตรการที่กำหนด
- ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์นอกเวลาราชการ ตามระบบโครงสร้างเวรรักษาการณ์ของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
- ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ การใช้ชีวิตในเรือนจำแก่ผู้ต้องขังเข้าใหม่ และตักเตือนเมื่อผู้ต้องขังจะกระทำผิดกฎ ระเบียบหรือกระทำผิดวินัย เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยภายในเรือนจำ
- ปรับปรุงและพัฒนางานบริการประชาชนที่เกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงานเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจงและตอบปัญหาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อสร้างความเข้าใจในระบบงานราชทัณฑ์
ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานรดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงานปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัิงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ มาตรการ หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับด้านทัณฑวิทยา และทัณฑปฏิบัติการ และดำเนินการให้เป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนนโยบายของทางราชการ
- ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ และดำเนินงานทัณฑวิทยาและทัณฑปฏิบัติในเรือนจำและสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และมาตรการที่กำหนด
- ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำมาตรฐานหลักสูตร กิจกรรม และคุณสมบัติผู้ต้องขังตลอดจนจัดการศึกษา อบรม พัฒนาพฤตินิสัย พัฒนาจิตใจ และฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง เพื่อการบำบัดฟื้นฟูหรือแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
- ดำเนินการรวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับสถิติผู้ต้องขังเพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย และสนับสนุนการบริหารงานของหน่วยงาน
- ดำเนินการสืบสวน สอบสวน เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงกรณีผู้ต้องขังกระทำผิดวินัยและเสนอแนะการลงโทษทางวินัยดังกล่าว
- ดำเนินการจัดทำเอกสาร บทความ กิจกรรมต่างๆ ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการเรียนรู้ร่วมกันของข้าราชการและผู้สนใจ
- ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมเอกสารเกี่ยวกับกิจการราชทัณฑ์ นวัตกรรมใหม่ๆ ติดตามความก้าวหน้าของทัณฑวิธีภายในประเทศและต่างประเทศ และเสนอแนะให้นำวิธีการที่เหมาะสม เพื่อนำมาปรับใช้ในงานราชทัณฑ์ของประเทศไทย
- ดำเนินการควบคุม ดูแลความเป็นอยู่และจัดสวัสดิการให้กับผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถดำรงชีพได้อย่างปกติและเหมาะสมตามมาตรฐานที่กำหนด
- ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และมาตรการที่กำหนด
- ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์นอกเวลาราชการ ตามระบบโครงสร้างเวรรักษาการณ์ของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
- ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ การใช้ชีวิตในเรือนจำแก่ผู้ต้องขังเข้าใหม่ และตักเตือนเมื่อผู้ต้องขังจะกระทำผิดกฎ ระเบียบหรือกระทำผิดวินัย เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยภายในเรือนจำ
- ปรับปรุงและพัฒนางานบริการประชาชนที่เกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงานเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจงและตอบปัญหาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อสร้างความเข้าใจในระบบงานราชทัณฑ์
ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ศึกษาวิเคราะห์และจัดทำมาตรฐาน หลักสูตร กิจกรรมและคุณสมบัติของผู้ต้องขังและเด็กและเยาชน ในการจัดการศึกษา อบรมพัฒนาจิตใจ ฝึกวิชาชีพ และอภิบาลและการพินิจ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเพื่อเป็นมาตรฐานในการดำเนินงานให้เหมาะสมกับผู้ต้องขังและเด็กและเยาวชน
- รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ในการจัดการศึกษา อบรมพัฒนาจิตใจ ฝึกวิชาชีพ และอภิบาลและการพินิจ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับผู้ต้องขังและเด็กและเยาวชน
- ดำเนินการจัดการศึกษา จัดทำสื่อการเรียนการสอน อบรมพัฒนาจิตใจ ฝึกวิชาชีพและอภิบาลและการพินิจผู้ต้องขังและเด็กและเยวาชน เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน เหมาะสมกับสภาพปัญหาของเด็กและเยาวชน และเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
- ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ปัญหาด้านวิชาการ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา อบรมพัฒนาจิตใจ ฝึกวิชาชีพ และอภิบาลและการพินิจ เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีและความพึงพอใจแก่เด็กและเยาวชน
- เผยแพร่ กาจัดการศึกษา อบรมพัฒนาจิตใจ ฝึกวิชาชีพ และอภิบาลและการพินิจแก่หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เพื่อสร้างการยอมรับและให้โอกาสทางสังคมแก่เด็กและเยาวชนผู้กระทำผิด
ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ควบคุม ดูแลผู้ต้องขัง ให้อยู่ในระเบียบวินัย และปฏิบัติภารกิจประจำวัน ตามกฎรเบียบของเรือนจำไม่ให้หลบหนีจากการควบคุม รวมทั้งการควบคุมผู้ต้องขังไปภายนอกเรือนจำ
- ดำเนินการตามมาตรการควบคุมผู้ต้องขังและรักษาการเรือนจำ เช่น ตรวจนับยอดจำนวนผู้ต้องขัง ตรวจตรา รักษาการณ์รอบอาณาเขตเรือนจำ ทั้งภายในและภายนอกกำแพง ป้อมบนกำแพง ประตูเรือนจำ ตรวจค้นบุคคล ผู้ต้องขัง ยานพาหนะ และพัสดุสิ่งของที่ผ่านเข้าออกเรือนจำการหาข่าว ตลอดจนดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้บังคับบัญชา หรือบุคคลภายนอกที่เข้าเยี่ยมชม หรือติดต่อราชการในเรือนจำ รวมทั้งการจู่โจมตรวจค้นทั้งในกรณีปกติและในกรณีพิเศษ รวมทั้งดูแลความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของเรือนจำ
- ดำเนินการด้านทัณฑปฏิบัติและสืบสวน สอบสวน หาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้ต้องขังและการพิจารณาเสนอการลงโทษทางวินัยผู้ต้องขัง
- สอนให้คำปรึกษา แนะนำและจัดการศึกษา จัดทำสื่อการเรียนการสอน อบรมพัฒนาจิตใจ และฝึกวิชาชีพ รวมถึง การบำบัดฟื้นฟูผู้ต้องขังที่ติดยาเสพติด
- ดำเนินการด้านการจัดสวัสดิการผู้ต้องขัง เช่น สูทกรรม การจัดเลี้ยงผู้ต้องขัง งานสงเคราะห์ผู้ต้องขัง เงินฝากผู้ต้องขัง ญาติเยี่ยม สันทนาการ และงานสวัสดิการอื่นที่เรือนจำจัดให้ผู้ต้องขัง
- ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์เรือนจำ นอกเวลาราชการ ตามระบบโครงสร้างของเรือนจำ
2. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- รับเรื่องและพิจารณาคำร้องทุกข์ของผู้ต้องขังเพื่อเสนอผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีการแก้ไข หรือช่วยเหลือผู้ต้องขังต่อไป
- ให้บริการญาติในการเข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง และการติดต่อประสานงานจากหน่วยงานหรือบุคลภายนอกและประชาชนทั่วไป
ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- อบรมและพัฒนานิสัย ทำการสอนวิชาสามัญและวิชาชีพสาขาต่างๆ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และควบคุมดูแลผู้ต้องขังและอภิบาลและการพินิจ
- กำหนดแบบหรือออกแบบ หรือดัดแปลงแบบผลิตภัณฑ์ ที่จะฝึกและการอภิบาลและการพินิจ เพื่อปรับปรุงแก้ไข การสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เหมาะสมกับสภาพการณ์
- รวบรวมข้อมูล จัดทำรายงาน จัดทำบัญชีผลิตภัณฑ์ต่างๆ คำนวณรายการและประมาณราคาเกี่ยวกับการฝึกวิชาชีพ
- ควบคุมการเบิกจ่าย การเก็บรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์เรือจำนอกเวลาราชการตามระบบโครงสร้างของเรือนจำ
2. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบข้อหารือแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ที่สนใจทั่วไปในงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
วิชาที่สอบ
กรมราชทัณฑ์จะดำเนินการสอบโดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบแข่งขันฯ โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันฯ แบ่งออกเป็น 2 ภาค (คะแนนเต็ม 300 คะแนน) ดังนี้
การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม 200 คะแนน)
ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 เฉพาะหมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 และหมวด 10
- พระราชบัญญัติราชทัณฑื พ.ศ.2560
- พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา และกระบวนการยุติธรรม
- เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์จะดำเนินการสอบโดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบแข่งขันฯ โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันฯ แบ่งออกเป็น 2 ภาค (คะแนนเต็ม 300 คะแนน) ดังนี้
การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม 200 คะแนน)
ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 เฉพาะหมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 และหมวด 10
- พระราชบัญญัติราชทัณฑื พ.ศ.2560
- พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา และกระบวนการยุติธรรม
- เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์จะดำเนินการสอบโดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบแข่งขันฯ โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันฯ แบ่งออกเป็น 2 ภาค (คะแนนเต็ม 300 คะแนน) ดังนี้
การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม 200 คะแนน)
ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 เฉพาะหมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 และหมวด 10
- พระราชบัญญัติราชทัณฑื พ.ศ.2560
- พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา และกระบวนการยุติธรรม
- เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์จะดำเนินการสอบโดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบแข่งขันฯ โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันฯ แบ่งออกเป็น 2 ภาค (คะแนนเต็ม 300 คะแนน) ดังนี้
การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม 200 คะแนน)
ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 เฉพาะหมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 และหมวด 10
- พระราชบัญญัติราชทัณฑื พ.ศ.2560
- พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์จะดำเนินการสอบโดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบแข่งขันฯ โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันฯ แบ่งออกเป็น 2 ภาค (คะแนนเต็ม 300 คะแนน) ดังนี้
การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม 200 คะแนน)
ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 เฉพาะหมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 และหมวด 10
- พระราชบัญญัติราชทัณฑื พ.ศ.2560
- พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมราชทัณฑ์ :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 24 ธ.ค. – 18 ม.ค. 2562 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ : 25 ม.ค. 2562
ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมราชทัณฑ์
แผนที่ | ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |