กระทรวงสาธารณสุข
ลิงค์: https://ehenx.com/17974/ หรือ
ตำแหน่ง: นายแพทย์ปฏิบัติการ,เภสัชกรปฏิบัติการ,นักรังสีการแพทย์ปฏิบัติการ,พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ,นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,อื่นๆ
อัตราเงินเดือน: 10,840-19,830
อัตราว่าง: 31
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร,นครราชสีมา,นนทบุรี,สมุทรปราการ
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 19 ธ.ค. – 2 ม.ค. 2566
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กระทรวงสาธารณสุข เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ สังกัดกรมควบคุมโรค
ด้วยกรมควบคุมโรคจะดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งต่าง ๆ สังกัดกรมควบคุมโรค ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑ /ว ๑๖ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และที่ นร ๑๐๐๔/ว ๒๐ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๔ จึงประกาศรับสมัครคัดเลือก เพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นายแพทย์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18020 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
เภสัชกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 20 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักรังสีการแพทย์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : 10840-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวช.-ปวส.
นายแพทย์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาในสาขาวิชาแพทยศาสตร์หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดไม่ตํ่ากว่านี้ และ ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม จากแพทยสภา และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม จากแพทยสภา
เภสัชกรปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ และ ไต้รับใบอนุญาตประกอบเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรมชั้นหนึ่ง หรือได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรม จากสภาเภสัชกรรม
นักรังสีการแพทย์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ทางรังสีเทคนิค และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค
พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรืหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ และ ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาฃีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง
นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิคการแพทย์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเทคนิคการแพทย์ หรือได้รับใบอนุญาตเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ของสภาเทคนิคการแพทย์
เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนืยบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ซึ่งศึกษาต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือศึกษาต่อจากประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทางเทคนิคเภสัชกรรม
ในกรณีที่ไม่สามารถนำหลักฐานการศึกษาดังกล่าวมายื่นพร้อมใบสมัครได้ให้นำหนังสือรับรองคุณวุฒิที่สถานศึกษาออกให้ โดยระบุสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษาและวันที่ที่ได้รับอนุมัติให้สำเร็จการศึกษา ซึ่งจะต้องอยู่ภายในกำหนดวันปิดรับสมัครมายื่นแทนก็ได้
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษาใดนั้น จะถือตามกฎหมาย กฎ หรือระเบียบเกี่ยวกับการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษานั้นๆ เป็นเกณฑ์โดยจะต้องสำเร็จการศึกษาและได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจอนุมัติภายในวันปิดรับสมัครสอบ
นายแพทย์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการใน การทำงาน ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค ฟืนฟู ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุม ป้องกันโรค และภัย สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และสามารถป้องกันตนเองหรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้พ้นจากโรคภัย ไข้เจ็บ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยวิชาการแพทย์และสาธารณสุขเบื้องด้น เพื่อประกอบการ พัฒนาแนวทางการตรวจ ชันสูตร วินิจฉัย บำบัดรักษา พ้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน เพื่อให้ได้ องค์ความรู้ทางวิชาการแพทย์และสาธารณสุข ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมกับภารกิจของส่วน ราชการ
(๓) รวบรวมข้อมูลและศึกษาสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ ที่รับผิดชอบ และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อวางแผนการดำเนินงานตรวจ วินิจฉัย รักษา ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวัง รักษาโรค และพ้นฟู ล่งเสริมสุขภาพ ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่
(๔) ตรวจชันสูตรทางนิติเวชศาสตร์และเหตุตายทางนิติเวชศาสตร์ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานทางนิติเวชศาสตร์ เพื่อให้ทราบสาเหตุของการเลียชีวิต
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรค การพ้นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ ที่ตนมีความรับผิดชอบในระดับเบื้องด้น แก่ผู้ป่วยและญาติ หน่วยงาน ราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถ นำไปปฏิบัติให้มีสุขภาพที่ดี
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องด้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๓) ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข แก่บุคลากร สาธารณสุข นักศึกษาและประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ
เภสัชกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานเภสัชกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.® ด้านการปฏิบัติการ
(๑) บริการทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุขเบื้องต้น เพื่อบรรลุผลการรักษา ป้องกันควบคุมโรค และประชาชนเกิดความปลอดภัยในการใช้ยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๒) คุ้มครองผู้บริโภค ตรวจวิเคราะห์ ประกันคุณภาพทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นด้านยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการ ได้มาตรฐาน เป็นธรรมและปลอดภัย
(๓) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย กำหนดแนวทาง ติดตาม ประเมินผลทางวิชาการเบื้องต้น เพื่อพัฒนางานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค
(๔) จัดทำพัฒนามาตรฐานแนวทางคู่มือเบื้องต้นทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภค สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดจอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ
เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจง เกี่ยวกับงานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภคในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย ญาติ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้สนใจได้ทราบ ข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูล ให้บริการข้อมูลเบื้องต้นทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค
เพื่อให้สอดคล้อง สนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดแผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
(๓) สอน นิเทศ ขิกอบรม ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข
การคุ้มครองผู้บริโภคแก่นักศึกษา บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้อง
นักรังสีการแพทย์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการใน การทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาชีพรังสีการแพทย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านรังสีการแพทย์ขั้นพื้นฐานในการตรวจวินิจฉัย หรือการรักษาทาง รังสีวิทยา และตรวจสอบคุณภาพของงานตามมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิค เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการตรวจ รักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
(๒) ช่วยปฏิบัติงาน จัดระบบบริหารงานด้านเทคนิคและเครื่องมือด้านใดด้านหนึ่ง ทางรังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ตามบทบาทรังลีเทคนิค เพื่อพัฒนางานด้านรังสีการแพทย์ และสาธารณสุข
(๓) ช่วยปฏิบัติงาน ปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัย และการรักษา ทางด้านใดด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับการพัฒนางาน ด้านรังสีการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับผู้รับบริการ
(๔) ดำเนินการด้านเทคนิคในการป้องกันอันตรายจากรังสี และการกำจัดกากกัมมันตรังสี เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัยจากรังสี
(๕) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ดำเนินการจัดทำอุปกรณ์ร่วมประกอบการถ่ายภาพ และ ฉายรังสีในงานด้านใดด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผนพัฒนางานด้านรังลีการแพทย์และสาธารณสุข
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลส้มฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
(๑) ให้ข้อมูลเชิงวิชาการเบื้องด้น แก่ผู้ป่วย และผู้สนใจ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การใช้และการป้องกันอันตรายจากรังสี เพื่อความปลอดภัยแก่ตัวผู้ป่วยเอง และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
(๒) จัดเก็บข้อมูลและให้บริการข้อมูลเบื้องด้นแก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการบริการทางรังสี การแพทย์เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้ป่วย
(๓) ส่งเสริม หรือประชาสัมพันธ์ให้บุคคลากรทางรังสีการแพทย์นำมาตรฐานวิชาชีพ รังสีเทคนิคไปใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทางรังสีการแพทย์อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ เกิดความปลอดภัยสูงสุดต่อชีวิตของผู้รับบริการ
พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านพยาบาลวิชาฃีพ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติการพยาบาลขั้นพนฐานตามมาตรฐานวิชาซีพ ในการให้การพยาบาล แก่ผู้ใช้บริการ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
(๒) คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ปัญหา วินิจฉัยปัญหา ภาวะเลี่ยง เพื่อให้ การช่วยเหลือทางนิติวิทยาศาสตร์ การพยาบาลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทันสถานการณ์และทันเวลา
(๓) บันทึก รวบรวม คีกษาวิเคราะห์ช้อมูลด้านการพยาบาลเบื้องต้น เพื่อพัฒนาการดูแลผู้ป่วย ให้เกิดความปลอดภัย ลุชสบาย และมีประสิทธิภาพ
(๔) ส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพประชาชน หรือการบริการอื่นๆ ทางด้านสุขภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงามหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับชัอผูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) สอน แนะนำ ให้คำปรึกษา ฟ้องต้นแก่ผู้ใช้บริการและครอบครัวชุมชน เกี่ยวกับ การส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตบเองได้
(๒) ให้บริการข้อมูลทางวิชาการ จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการพยาบาล เพื่อให้ประชาชน ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการใน การทำงาน ปฏิบัติงานด้านเทคนิคการแพทย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน ควบคุมระบบ คุณภาพมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ เพื่อให้ผู้รับบริการ ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้อง แม่นยำและ ทันเวลา
(๒) รวบรวมข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นด้านเทคนิคการแพทย์ที่ไม่ยุ่งยากซับช้อน เพื่อประกอบการวางแผนการจัดทำรายงานทางวิชาการ เพื่อพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
(๓) ติดตาม ประเมินผล สรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านเทคนิคการแพทย์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงานโครงการที่รับผิดชอบ
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับช้อน เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายใน และภายนอกทีมงาน หรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้แก่ผู้ใช้บริการ ผู้ป่วย ญาติ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีความเข้าใจในการตรวจทางท้องปฏิบัติการ
(๒) สอน แนะนำ การปฏิบัติงาน แก่บุคลากรด้านสาธารณสุขและนักศึกษา เพื่อใท้มีความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทางท้องปฏิบัติการและแกิใขอย่างมี ประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการข้อมูล แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องที่เกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ เพื่อให้ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านเภสัชกรรม ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการในงานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคชั้นพื้นฐานแก่ผู้ใช้บริการ ภายใต้การควบคุมกำกับของเภสัชกร เพื่อการบริการอย่างมีคุณภาพ มาตรฐาน
(๒) ดูแล บำรุงรักษา เครื่องมืออุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตามมาตรฐาน
(๓) บันทึก จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง นำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
๓.๒ ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ข้อมูลและให้บริการทางวิชาการในเรื่องที่ไม่ซับช้อน เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้บริการ
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 19 ธ.ค. – 2 ม.ค. 2566 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร