Categories
งานราชการเปิดสอบ-รัฐวิสาหกิจ เปิดสอบ ทั่วไป

กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-28 มิ.ย. 2565

กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน

ลิงค์: https://ehenx.com/17184/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานสาธารณสุข,นักวิชาการสถิติ,นักกายอุปกรณ์,เภสัชร
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 13,800-22,750
อัตราว่าง: 4
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร (โรงพยาบาลเลิดสิน)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 28 มิ.ย. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมการแพทย์ เปิดรับสมัคร

ประกาศโรงพยาบาลเลิดสิน

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วโป

ด้วยกรมการแพทย์ ประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภท พนักงานราชการทั่วไป ตำแหน่งเภสัชกร ตำแหน่งนักกายอุปกรณ์ ตำแหน่งนักวิชาการสถิติ และ ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารสุข (เวชกิจลุกเฉิน) ปฏีบัดิงานทึ่โรงพยาบาลเลิตสิน ฉะนั้น อาลัยอำนาจตาม ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไชการสรรหาและเลือกสรร พนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างพนักงานราชการ ลงวันที่ ๑® กันยายน ๒๕๕๒ และประกากีคณะ กรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง กำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะชองกลุ่มงาน และการจัดกรอบ อัตรากำลังพนักงานราชการ ลงวันที่๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ประกอบคำสั่งกรมการแพทย์ ที่ ๑๘๕/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เรื่อง มอบอำนาจการสรรหาและเลือกสรร และลงนามในสัญญาจ้าง พนักงานราชการ จึงประกากีรับสมัครสรรหาและเลือกสรร ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานสาธารณสุข

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นักวิชาการสถิติ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักกายอุปกรณ์

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เภสัชร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 20540-22750 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานสาธารณสุข

ได้รับประกาศนึยบัตรวิชาชีพชั้นสูงเวชกิจฉุกเฉิน หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักวิชาการสถิติ

ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรืลสาขาวิชาสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ ทางประชากรศาสตร์


นักกายอุปกรณ์

ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชากายอุปกรณ์ศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขา กายอุปกรณ์ หรือได้รับใบอนุญาตเบนผู้ประกอบวิชาชีพจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขากายอุปกรณ์


เภสัชร

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอึ่นที่เทียบได้ไม่ตากว่านี้ในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ และได้รับ ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาเภสัชกรรมชั้นหนึ่ง หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม จากสภาเภสัชกรรม

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานสาธารณสุข

ปฏิบัติงานด้านช่วยเหลือแพทย์และพยาบาลทำการพื้นคืนชีพผู้ป่วยในภาวะวิกฉุติ ซึ่งมีลักษณะ งานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการช่วยพื้นคืนขีพผู้ป่วยในการปฏิบัติงานทางการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุช่วยเหลือภาวะ คุกคามต่อชีวิตชั้นพื้นฐาน พร้อมตรวจประเมินสถานการณ์สิ่งแวดล้อม และสภาพผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยฉุกเฉิน ร่วม ตัดสินใจและให้การช่วยเหลือ โดยการเคลื่อนย้ายหรือปฐมพยาบาลเนี้องต้น รวมทั้งการเตรียมรับผู้ป่วยเข้ารับการ รักษาพยาบาล รวมทั้งปฏิน้ติงานอื่นที่เกยวข้อง
หน้าที่ความรับผืดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านพื้นคืน ซืพผู้ป่วยในภาวะวิกฤต ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ ชองแพทย์ พยาบาล และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ ความชำนาญงานด้านพื้นคืนชีพชองผู้ป่วย ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแกิไขปัญหาที่ค่อนข้างยาก และปฏิบัติงาน อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานทีปฏิบัติในด้านต่างๆ ตังนี้
๑. รับแจ้งเหตุทางวิทยุสื่อสาร/โทรศัพท์ พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลชำวสาร ประเมินสถานการณ์และ ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวของผู้ที่อยู่ ณ เหตุการณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง ปลอดภัยตาม มาตรฐาน
๒. เตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ เช่น จัดเตรียมและ ตรวจสอบรถพยาบาลฉุกเฉิน อุปกรณ์/ผู้ภัย และวิทยุสื่อสาร ประสานงานกับรถพยาบาลในเครือชำยและระหว่าง เครือชำย เป็นด้น เพื่อให้อุปกรณ์เครื่องมือมีสภาพพร้อมให้บริการ
๓. ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุร่วมกับชุดปฏิบัติการ ประเมินวิเคราะห์สถานการณ์ สิ่งแวดล้อมและสภาพผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยฉุกเฉิน พร้อมจำแนกประเภทผู้ป่วยในการจัดลำตับการช่วยเหลือดาม ความรุนแรง ช่วยพื้นคืนชีพ ปฐมพยาบาล และทำหัตถการเนี้องต้น ได้แก่ การดามกระดูก การห้ามเลือด การช่วย พื้นคืนชีพชั้นต้น ให้ยาและนํ้า จัดท่าอึดตรึงยกเคลื่อนย้าย และลำเลียงผู้ป่วยอย่างถูกวิธี เป็นต้น ประเมินสภาพ ผู้ป่วยต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือที่รวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัยตามมาตรฐาน
๔. ดูแลบำรุงรักษาพาหนะฉุกบ่ฉิน อุปกรณ์กู้ชีพหรือผู้ภัย และวิทยุสื่อสาร เพื่อให้มีสภาพพร้อมใช้ งานตลอดเวลาและตามมาตรฐานด้านอุปกรณ์
๔. รวบรวมข้อมูล จัดทำรายงานการปฏิบัติ เพื่อนำไปวิเคราะห์ วางแผนบริหารจัดการงานเชิงรุก เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
๒. ด้านการบริการ
ร). ให้คำแนะนำ ข้อมูลและให้บริการทางวิชาการในเรื่องที่ไม่ซับช้อน เพื่อส่งเสริมความรู้ความ เข้าใจชองเจ้าหน้าที่ นักศึกษา หรือผู้ที่สนใจ ให้มีความรู้ที่ถูกต้องเหมาะสม
๒. ประสานงานกับบุคลากรภายในหน่วยงานเดียวกัน หรือนอกหน่วยงานที่เบนเครือชำยบริการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
รท. ร่วมปฏิบัติงานในการพเฒนาศักยภาพของบุคลากร และองค์กร เพื่อให้บุคลากรมีความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ร่วมนิเทศงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือด้านอื่นให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานไต้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการสถิติ

ปฏิบัติงานด้านวิชาการสถิติ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับวิชาการทางด้านสถิติ เช่น การกำหนด มาตรฐานสถิติ กำหนดระเบียบวิธีปฏิบัติและควบคุมคุณภาพเซิงสถิติ และเทคนิคการปฏิบัติการทางสถิติ การวางแผนการจัดทำสถิติ รวมทั้งการดำเนินการส่งเสริมวิชาการสถิติ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวซ้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านธีรการสถิติ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสองj และปฏิบัติงาบอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ ความชำนาญงานสูงในด้านวิชาการสถิติ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ไต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
๑. จัดเตรียมรูปแบบข้อคำถาม แบบประมวลผล คำนิยาม ศึกษาหามาตรฐานทางสถิติ วิเคราะห์โครงการสถิติ และต้องประยุกต์ใช้ความรู้อย่างมาก เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไบอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. เตรีชมคู่มือหรือจัดทำคู่มือการวางแผนสุ่มตัวอย่าง การประมวลผลทางสถิติ รวมทั้ง วิเคราะห์ความแปรปรวนและสรุปรายงานทางสถิติ เพื่อปรับปรุงการวางแผน การสุ่มตัวอย่างให้มีประสิทธิภาพ
๓. ตรวจสอบความเป็นไปได้ชองข้อมูล ประมวลผลทางสถิติ รวมทั้งวิเคราะห์ความแปรปรวน และสรุปรายงานทางสถิติ เพื่อให้ไต้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริง
๔. วิเคราะห์ข้อมูล แปลความ จัดทำแผนภูมิ/แผนภาพทางสถิติ และนำเสนอเป็นรายงาน เพื่อพการดำเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ถูกต้อง แม่นยำ
๕. ดำเนินการศึกษามาตรฐานทางสถิติ การสุมตัวอย่าง วิเคราะห์โครงการและเสนอแนะ ความรู้ด้านสถิติและการประยุกต์ใช้ เพื่อหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาการจัดทำสถิติให้เป็นระบบและมี คุณภาพ
๖. ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานต่างๆ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วงตาม เป้าหมาย
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการชองหน่วยงาน ระดับสำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
๑. ประสานการทำงานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้นแก่ สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
๒. ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องต้นแก่สมาขิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการตำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
๑. จัดทำสื่อในการให้บริการเผยแพร่ข้อมูลด้านสถิติ เพื่อให้ทราบลิงข้อมูลสถิติด้านต่างๆ
๒. ให้คำแนะนำแก่หน่วยงานต่างๆ เรื่องระเบียบวิธีทางคณิตคาสตร์ สถิติขั้นพื้นฐาน การ วิเคราะห์ข้อมูล และแนวทางการปฏิบัติงานด้านสถิติเบื้องต้น เพื่อให้หน่วยงานนั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็น ประโยชน์ในการดำเนินงานของตนเอง
๓. ให้คำปรึกษาแนะนำในงานด้านวิชาการสถิติแก่เจ้าหน้าที่ และแลกเปลี่ยนความรู้ความ ชำนาญ เพื่อให้สามารถตำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักกายอุปกรณ์

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน  

ปฏิบัติงานด้านกายอุปกรณ์ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจและประเมินผู้ป่วย หรือผู้พิการทางการเคลื่อนไหว โดยใช้วิธีการทางกายอุปกรณ์ ได้แก่ ความรู้ทางด้านกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาชีวกลศาสตร์ วัสดุศาสตร์ พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ การที่นพู่สมรรถภาพ ภาวะหรือโรคที่ ก่อไท้เกิดความพิการ กายอุปกรณ์เสริม กายอุปกรณ์เทียม ฯลฯ เพื่อนำผลไปใช้ในการผลิต ดัดแปลง หรือแก้ไข กายอุปกรณ์ที่เหมาะสมรวมถึงการออกแบบ คัดเลือกวัสดุและส่วนประกอบที่จะนำมาผลิต ตลอดถึงขิก วิธีการใช้ การดูแลรักษา การประเมินและติดตามผลการใช้ โดยร่วมปฏิบัติงานกับทีมสหสาขาด้านการพื้นฟู สมรรถภาพทางการแพทย์ รวมถึงการศึกษาวิจัย ค้นคว้าเทคโนโลยีด้านกายอุปกรณ์ ให้คำปรึกษา แนะนำ ขิกอบรมเกี่ยวกับวิทยาการทางกายอุปกรณ์ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านกายอุปกรณ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ ความชำนาญงานสูงในด้านกายอุปกรณ์ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
๑. ปฏิบัติงานตามชั้นตอน มาตรฐาน กฎเกณฑ์ด้านกายอุปกรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถ ช่วยเหลือตนเอง และมีความเป็นอยู่ในสังคมด้วยตนเองได้อย่างปกติสุข
เอ. รวบรวมข้อมูลทางวิชาการต้านกายอุปกรณ์ เพื่อประกอบการวางแผนหรือจัดทำรายงาน ทางวิชาการ
๓. ติดตามประเมินผล การดำเนินงานในโครงการต่างๆ ที่รับผิดชอบหรือการดำเนินงานชอง งานที่เกี่ยวข้อง สรุปการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยทางด้านกายอุปกรณ์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของงานที่ รับผิดชอบ
๔. ศึกษา วิเคราะห์ สำรวจข้อมูล และประเมินผลด้านกายอุปกรณ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผนพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
๕. ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และพัฒนางานด้านกายอุปกรณ์ ที่ต้องอาศัยความรู้ทางวิชาการด้าน กายอุปกรณ์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับด้านกายอุปกรณ์ของสถานบริการสุขภาพ ในการจัดบริการด้านกายอุปกรณ์ที่มีความเฉพาะเจาะจงให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
๖. เสนอแนะแนวทางปฏิบัติ และมาตรฐานงานกายอุปกรณ์ให้แก่บุคลากรด้านกายอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้ปฏิบัติงานกายอุปกรณ์ได้ตามมาตรฐาน


เภสัชร

ปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรมซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการผสมและปรุงยาเวชภัณฑ์ประเภท ต่างๆ การจ่ายยาให้คนไข้ตามคำสั่งแพทย์โรงพยาบาลหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล และ ปฏิบัติงหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ด้องใชัความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ใต้รับมอบหมาย
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ ความชำนาญงานสูงในด้านเภสัชกรรม ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
ร,. ด้านการปฏิบัติการ        
๑. บริการด้านเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข เพี่อบรรลุผลการรักษา ป้องกันควบคุมโรค และ ประขาซนเกิดความปลอดภัยในการใช้ยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
๒. คุ้มครองผู้บริโภค ตรวจวิเคราะห์ ประกันคุณภาพทางห้องปฏิบัติการ ด้านยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ เพี่อให้ประชาชนได้รับการบริการไต้มาตรฐานเป็นธรรมและปลอดภัย
รท. ศึกษา ด้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา กำหนดแนวทาง ติดตาม ประเมินผลทางวิชาการ เพื่อพัฒนางานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค
๔. จัดทำ พัฒนามาตรฐาน แนวทาง คู่มือทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน
๕. เสนอแนะแนวทาง หลักเกณฑ์ หรือข้อเสนอต่างๆ ตามหลักวิชาชีพ เพื่อพัฒนามาตรฐาน การปฏิบัติงาน
๒. ต้านการวางแผน
วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการชองหน่วยงาน ระดับสำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
๑. ประสานการทำงานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้นแก่ สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพี่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
๒. ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องด้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพี่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
๑. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจง เกี่ยวกับงานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภคแก่ผู้ป่วย ญาติ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนหัวไป เพี่อให้ผู้สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
๒. จัดเก็บข้อมูล ให้บริการข้อ พัฒนา ปรับปรุง ฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศทางเภสัช กรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดแผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน
๓. สอน พัฒนาระบบการสอน นิเทศ ฟิกอบรม ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคแก่นักคึกษา บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้มีความรู้ความเจ้าใจ สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสีทธิภาพ

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานสาธารณสุข

๑. ความรู้ความสมารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
พระราชบัญญติการแพทย์อุกเธน พ.ศ. ๒๕๕®
๒. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบ้ติงานในตำแหน่ง
to.® การใช้คอมพิวเตอร์
๒๒ การใช้ภาษาอังกฤษ
๒.๓ การคำนวณ
๒.๕ การจัดการข้อมูล
๓. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏีบ้ติงานในตำแหน่ง
๓.® สมรรถนะหลัก
(๑) การมุ่งผลส้มฤทธ
(๒) บริการที่ดี
(๓) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
(๔)การรดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
(๕) การทำงานเป็นทีม
๓.๒ สมรรถนะของตำแหน่ง
(๑) การสนองตอบความต้องการด้านกายอุปกรณ์
(๒) การสร้างส้มพันธภาพและการสื่อสาร
(๓) การถ่ายทอดความรัและเทคโนโลยีทางกายอุปกรณ์


นักวิชาการสถิติ

๑. ความรู้ความสมารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๑.ร. สถิติ
๑.๒ พระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕๐
๑.๓ พระราชบัญญัติฃ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๔ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
๒. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๒๑ การใช้คอมพิวเตอร์
๒.๒ การใช้ภาษาอังกฤษ
๒.๓ การคำนวณ
๒.๔ การจัดการข้อมูล
๓. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๓.๑ สมรรถนะหลัก
(๑) การมุ่งผลสัมฤทธํ่
(๒) บริการที่ดี
(๓) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
(๔) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
(๕) การทำงานเป็นทีม
๓.® สมรรถนะของตำแหน่ง
(๑) การสนองตอบความต้องการด้านกายอุปกรณ์
(๒) การสร้างลัมพันธภาพและการสื่อสาร
(๓) การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีทางกายอุปกรณ์


นักกายอุปกรณ์

๑. ความรู้ความสมารถที่จำเบนสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๑.๑ การตรวจประเมิน คัดกรองผู้ป่วยหรือผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
๑.๒ การออกแบบ คัดเลือกวัสดุ และส่วนประกอบที่นำมาผลิตกายอุปกรณ์
๑.๓ การตรวจประเมิน ติดตามผลการใช้งานทางกายอุปกรณ์และสรุปผลการใช้ตามระยะที่
กำหนด
๑.ร. พระราชบัญญ้ติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ©ร1.๕ พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕®๒ พ.ศ. ๒๕๕®
๒. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๒.® การใช้คอมพิวเตอร์
๒.๒ การใช้ภาษาอังกฤษ
๒.๓ การคำนวณ
๒.๔ การจัดการข้อมูล
๓. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๓.® สมรรถนะหลัก
(๑) การมุ่งผลสัมฤทธี้
(๒) บริการที่ดี
(๓) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
(๔) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
(๕) การทำงานเป็นทีม
๓.๒ สมรรถนะของตำแหน่ง
(๑) การสนองตอบความต้องการด้านกายอุปกรณ์
(๒) การสร้างส้มพันธภาพและการสื่อสาร
(๓) การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีทางกายอุปกรณ์


เภสัชร

๑. ความรู้ความสมารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๑.® บริการเภสัชกรรม
๑.๒ บริการจ่ายยา
๑.๓ บริบาลทางเภสัชกรรม
๑.๔ บริหารเวชภัณฑ์
๑.๕ เภสัชกรรมการผลิต
๑.๖ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑.๗ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการบ่ายวกับการรักษาพยาบด พ-ศ. ๒๕๔๕
๑.๘ พระราชบัญญัติยาเสพติด วัตถุออกฤทธี้ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘
๑.๙ พระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
๒. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๒.® การใช้คอมพิวเตอร์
๒.๒ การใช้ภาษาอังกฤษ
๒.๓ การคำนวณ
๒.๔ การจัดการข้อมูล
๓. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
๓.๑ สมรรถนะหลัก
(๑) การมุ่งผลส้มฤทธี้
(๒) บริการที่ดี
(๓) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
(๔) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
(๕) การทำงานเป็นทีม
๓.๒ สมรรถนะของตำแหน่ง
(๑) การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน
(๒) การสืบเสาะหาข้อมูล
(๓) การดำเนินการเชิงรุก

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน  :ตนเอง  

ผู้ประสงค์จะสมัครขอและยื่นใบสมัครด้วยตนเองได้ที งานบริหารทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์และแผนงาน

โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลเลิดสิน ชั้น ๘ อาคาร ๓๓ ปี ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน 2565 – 28 มิถุนายน 2565 (ในวันและเวลาราชการ)

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน

แผนที่ file 1

Comments

comments