“กรมราชทัณฑ์ “
ลิงค์: https://ehenx.com/16725/ หรือ
ตำแหน่ง: นักจิตวิทยา,นักสังคมสงเคราะห์,เจ้าพนักงานธุรการ
ระดับการศึกษา: ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,280-18,000
อัตราว่าง: 151
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 17 พ.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมราชทัณฑ์ เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการในสังกัดกรมราชทัณฑ์
ด้วยกรมราชทัณฑ์ จะดำเนินการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ในสังกัดกรมราชทัณฑ์ สำหรับปฏิบัติหน้าที่ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน และส่วนกลางกรมราชทัณฑ์ ฉะนั้น อาศัยอำนาจ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการและแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เรื่อง การกำหนดลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็น พนักงานราชการในสังกัดกรมราชทัณฑ์ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
นักจิตวิทยา
อัตราว่าง : 113 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักสังคมสงเคราะห์
อัตราว่าง : 36 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
เจ้าพนักงานธุรการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11280- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักจิตวิทยา
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที,เทียบได้ไนระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
เจ้าพนักงานธุรการ
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาชาวิชา
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักจิตวิทยา
๒. หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านจิตวิทยา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๑) ประเมิน สำรวจ วิเคราะห์ สภาวะสุขภาพจิตด้วยวิธีการทางจิตวิทยา ให้แก่เจาหน้าที่และ ผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ เพื่อค้นหา อธิบาย ทำนายแนวโน้ม พฤติกรรม อารมณ์ ความคิด พัฒนาการ ศักยภาพ แรงจูงใจ ความถนัด บุคลิกภาพ สาเหตุของปัญหาสุขภาพจิตในระดับเบื้องต้น
๒)ให้การปรึกษา แนะแนว ปรับพฤติกรรม พื่นฟูสภาวะทางจิตใจ สังคม อารมณ์ ส่งเสริมพัฒนาการ ในระดับเบื้องด้น เพื่อให้ผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ เข้าใจ ยอมรับปัญหาของตนเอง ปรับเปลี่ยน อารมณ์ความคิด พฤติกรรม วิธีการปรับตัว หรือวิธีแค้ปัญหาให้เหมาะสม
๓) ส่งเสริม ป้องกัน เฝ็าระวัง แก้ไขปัญหาพฤติกรรม สุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่และผู้ที่อยู่ภายใต้ การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ ด้วยเครื่องมือและกระบวนการทางจิตวิทยาเบื้องต้น เพื่อพัฒนา ความสามารถในการดำเนินชีวิตได้เหมาะสมยิ่งขึ้น
๔) รวบรวม ศึกษา ข้อมูลงานวิจัยด้านจิตวิทยา และวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านจิตวิทยา สุขภาพจิต
๔) สรุปสถิติ รายงานผลการปฏิบัติงานทางจิตวิทยาเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผน พัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน
๓.๒ ด้านการวางแผน
ร่วมวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการด้านการส่งเสริมสุขภาพจิตให้เป็นไปตาม เป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง ความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
๑) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ทางวิชาการด้านจิตวิทยาและวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ เจ้าหน้าที่และผู้ที,อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลชองกรมราชทัณฑ์ มีความรู้ มีความเข้าใจ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานและสามารถดำเนินการได้อย่างลูกต้อง
๒) ถ่ายทอด ชิกอบรมองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านจิตวิทยาจัดทำแผนการชิกอบรมเพื่อพัฒนา ความรู้ความสามารถของผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์
๓.๕ ด้านอื่นๆ
๑) ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานเรือนจำ ตามกฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์ และกฎหมายอื่น ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมราชทัณฑ์
๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่ต้องการ
๑) มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์ และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
พนักงานราชการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎฺหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๓) มีความสามารถในการสำรวจข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล
๔) มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแกการปฏิบัติงานในหน้าที่
๔) มีความสามารถในการสื่อสาร รับพิง และชี้แจงผู้อื่นอย่างเหมาะสม
๖) มีความสามารถในการติดต่อประสานงาน
๗) มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง
๘) มีความสามารถในการให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดขอบ
นักสังคมสงเคราะห์
๒. หน้าที่ความรับผิดขอบ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๓.® ด้านการปฏิบัติการ
๑) ศึกษาและกำหนดรูปแบบกิจกรรมนันทนาการ รวมทั้งวางแผนร่วมกับผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือ ดูแลของกรมราชทัณฑ์ที่มีปัญหาเฉพาะรายและผู้ต้องขังรายสำคัญ ด้วยเทคนิค วิธีการ และกระบวนการทาง สังคมสงเคราะห์
๒) ศึกษา พัฒนา กำหนดรูปแบบ พร้อมทั้งให้การปรึกษาแนะนำ จัดการรายกรณี แกไข บำบัดพันฟู พัฒนาผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยโปรแกรมแก้ไขหื้เนฟูประเภทต่างๆ
๓) ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อกำหนดหรือพัฒนาระบบ รูปแบบ พร้อมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการ และการสงเคราะห์แก่บุคคลกลุ่มพิเศษ ซึ่งเป็นกลุ่มที่กฎหมายกำหนดแนวทางการปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน เช่น ผู้ต้องขังสูงอายุ พิการ ตั้งครรภ์ เด็กดิดผู้ต้องขัง เป็นต้น
๔) ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อกำหนดหรือพัฒนาระบบ และเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังก่อนปล่อย ประเมินผลการให้การปรึกษา แนะนำการปรับตัว การดำเนินชีวิตหลังพ้นโทษ โดยประสานงานกับสหวิชาชีพ
๔) ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อกำหนดหรือพัฒนารูปแบบการบูรณาการภาคสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมใน การแก้ไข บำบัด ฟินฟู และพัฒนา รวมทั้งจัดสวัสดิการและให้การสงเคราะห์แก่ผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือ ดูแลของกรมราชทัณฑ์
๖) ขับเคลื่อนมาตรฐานด้านการจัดสวัสดิการ และองค์การสวัสดิการสังคมในงานราชทัณฑ์ ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
๗) กำกับ ดูแลติดตามประเมินผลโครงการและกิจกรรม การจัดสวัสดิการและการสังคม สงเคราะห์ผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ เพื่อนำผลลัพธ์มาพัฒนางานสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์มากยิ่งขึ้น
๘) รวบรวม จัดทำสถิติข้อมูลและจัดทำผลการดำเนินงาน เพื่อประกอบการจัดทำเครื่องมือทางสังคม สงเคราะห์และใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์
๓.๒ ด้านการวางแผน
ร่วมวางแผนการดำเนินงานในกระบวนงานสังคมสงเคราะห์ให้เป็นตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
ประสานการดำเนินงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ตลอดจนประสานล่งต่อผู้ที่อยู่ ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราขทัณฑ์และผู้พ้นโทษไปยังหน่วยงานบริการทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครอง และพัฒนาผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ไมให้หวนกลับมากระทำผิดซํ้า
๓.๔ ด้านการบริการ
๑) ชี้แจงรายละเอียด ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการด้านสังคมสงเคราะห์แก่บุคคล หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ
๒) เผยแพร่ประชาสัมพ้นธ์กระบวนงานสังคมสงเคราะห์ให้แก่ผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของ กรมราชทัณฑ์ ญาติผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์ และสังคมทั่วไปได้ทราบถึงแนวทางการ ปฏิบัติต่อผู้ที่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือดูแลของกรมราชทัณฑ์
๓.๕ ด้านอื่นๆ
๑) ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานเรือนจำ
๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่ต้องการ
๑) มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใซ้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติด้านสังคมสงเคราะห์อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๓) มีความสามารถในการสำรวจข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล
๔) มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๕) มีความสามารถในการสื่อสาร รับพิง และชี้แจงผู้อื่นอย่างเหมาะสม
๖) มีความสามารถในการติดต่อประสานงาน
๗) มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง
๘) มีความสามารถในการให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
เจ้าพนักงานธุรการ
๒. หน้าที่ความรับผิดชอบ
๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการด้นหา และเป็นเอกสารทางราชการ
๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
๔) รวบรวบรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้บังดับบัญชาเพื่อนำไปใช้ เสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๕) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
๖)ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
๗) ผลิตเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย
๓. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการและงานสารบรรณ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการรับส่ง ลงทะเบียนหนังสือ เก็บและด้นหาหนังสือ รวบรวมข้อมูล ร่างโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่อง ตรวจทานหนังสือ งานเก็บรักษาทะเบียนยานพาหนะ ต่อทะเบียน การโอนกรรมสิทธิ้ การจำหน่ายยานพาหนะที่ชำรุด เสื่อมสภาพติดตามให้มีการซ่อมแซมและบำรุงรักษาและการเบิกจ่ายพาหนะที่ใช้เป็นประจำ งานธุรการที่ เกี่ยวกับงานเทคนิคเฉพาะด้าน เพื่อตรวจสอบลงรายการ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่ต้องการ
๑) มีความรู้ความเช้าใจในกฎหมายว่าด้วยระเบียบช้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วย ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานธุรการและงานสารบรรณอย่างเหมาะสม แก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๓) มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัตงานในหน้าที่
๔) มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ของตำแหน่ง
๔) มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความละเอียดแม่นยำ
๖) มีความสามารถในการให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
วิชาที่สอบ
นักจิตวิทยา
โดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ๒ ครั้ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ดังนี้
๑) ประเมินฯ ครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑.๑ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๖๐ และกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้
๑.๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๔๔๗
๑.๓ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยวินัยและการรักษาวินัยของพนักงานราขการ พ.ศ. ๒๔๔๐
๑.๔ พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๔๔๑
๑.๔ ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพจิต .
๑.๖ นโยบายกรมราชทัณฑ์ และเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์
๒) ประเมินฯ ครั้งที่ ๒ โดยวิธีการสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสม กับตำแหน่งหน้าที่จาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น ของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับงานราขทัณฑ์ หรือความรู้ที่อาจใข้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ รวมทั้งความสามารถ เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล การนำความรู้ทางด้านวิชาชีพมาปรับใช้ใน งานราชทัณฑ์ ความคิดเห็นที่มีต่องานราขทัณฑ์ และการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง การมีความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ จิตสำนึกในการให้บริการ ความชื่อสัตย์สุจริต การรักษาความลับของทางราชการ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม และรวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง
ทั้งนี้ให้ผู้สมัครเข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน ผู้ที่ผ่านการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ คือ ผู้ที่ได้คะแนนการสอบข้อเขียน ไมีตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ซึ่งจะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ ให้ทราบอีกครั้ง
นักสังคมสงเคราะห์
โดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ๒ ครั้ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ด้งนี้
๑) ประเมินฯ ครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเซียน
๑.๑ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้
๑.๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
๑.๓ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยวินัยและการรักษาวินัยของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐
๑.๔ พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.๒๕๕๖ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
๑.๕ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์
๑.๖ เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการในงานราชทัณฑ์
๒) ประเมินฯ ครั้งที่ ๒ โดยวิธีการสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสม กับตำแหน่งหน้าที่จาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น ของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ หรือความรู้ที่อาจใซ้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ รวมทั้งความสามารถ เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล การนำความรู้ทางด้านวิชาชีพมาปรับใช้ใน งานราชทัณฑ์ ความคิดเห็นที่มีต่องานราชทัณฑ์ และการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง การมีความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ จิตสำนึกในการให้บริการ ความซื่อสัตย์สุจริต การรักษาความลับของทางราชการ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม และรวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง
ทั้งนี้ให้ผู้สมัครเข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน ผู้ที่ผ่านการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ คือ ผู้ที่ได้คะแนนการสอบข้อเขียน ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ซึ่งจะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ ให้ทราบอีกครั้ง
เจ้าพนักงานธุรการ
โดยการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ๒ ครั้ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ดังนี้
๑) ประเมินฯ ครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเซียน
๑.๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ค. ๒๕๔๗
๑.๒ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยวินัยและการรักษาวินัยของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐
๑.๓ นโยบายกรมราชทัณฑ์ และเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์
๑.๔ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๕ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์
๒) ประเมินฯ ครั้งที่ ๒ โดยวิธีการสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เช้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับ ตำแหน่งหน้าที่จาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น ของผู้เช้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ หรือความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ รวมทั้งความสามารถ เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล การนำความรู้ทางด้านวิชาขีพมาปรับใช้ใน งานราชทัณฑ์ ความคิดเห็นที่มีต่องานราชทัณฑ์ และการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง การมีความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ จิตสำนึกในการให้บริการ ความชื่อสัตย์สุจริต การรักษาความลับของทางราชการ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม และรวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง
โดยให้มีการทดสอบทักษะทางด้านการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น เพื่อประกอบการพิจารณา ความเหมาะสมในการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒
ทั้งนี้ให้ผู้สมัครเข้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน ผู้ที่ผ่านการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ คือ ผู้ที่ได้คะแนนการสอบข้อเขียน ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเช้ารับการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ซึ่งจะประกาศรายขื่อผู้มีสิทธิเช้ารับการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒ ให้ทราบอีกครั้ง
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมราชทัณฑ์ :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 17 พ.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมราชทัณฑ์
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร