“กศน. “
ลิงค์: https://ehenx.com/15702/ หรือ
ตำแหน่ง: ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน,นักจัดการงานทั่วไป,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 13,800-18,000
อัตราว่าง: 12
ปฏิบัติงานที่: เชียงใหม่ (สำนักงาน กศน.จังหวัดเขียงใหม่)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 19 พ.ย. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กศน. เปิดรับสมัคร
เรื่อง การวับสมัครบุคคลเพื่อเถือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาลัยจังหวัดเชียงใหม่
ด้วย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาลัยจังหวัดเชียงใหม่ (สำนักงาน กคน. จังหวัดเชียงใหม่) มีความประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อบรรจุแต่งดั้งเป็นพนักงานราชการทั่วไป
ฉะนั้น อาลัยอำนาจดามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธการ และเงื่อนไชการสรรหาและการเถือกสรรพนักงานราชการและแบบสัญญาจัางของพนักงานราชการ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่องการกำหนดลักษณะงานและ คุณสมบัดิเฉพาะของกลุ่มงาน พ.ศ.๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และ (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ คำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๒๗๐/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เรื่อง มอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาศัยจังหวัด/ กรุงเทพมหานคร ปฎบัตราชการแทน ประกอบกับคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๕๓๑/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง แก้ใขเปถืยนแปลงคำสั่งมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม การศึกษาบอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ปฎบัตราชการแทบ จึงประกาศวับ สมัครบุคคล เพื่อเถือกสรรเป็นพนักงาบราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียดดังส่อไปนี้
ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : บาท
คุณวุฒิ :
นักจัดการงานทั่วไป
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : บาท
คุณวุฒิ :
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
อัตราว่าง : อัตรา
อัตราเงินเดือน : บาท
คุณวุฒิ :
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
๑. ผู้สมัครจะต้องมีวุฒไม่ตากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา เข่น ครุศาสตรบัณฑิต ศกบา ศาสดรบัณฑิต การศกบาศาสตรบัณฑิต และ/หรือวุฒไม่ตากว่าปริญญาตริทางการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. รับรอง และ/หรือคุรุสภาไห้การรับรอง
๒. กรณีผู้สมัครไม่ได้จบการศึกษาปริญญาตรีทางการศึกษา จะต้องจบการศึกษาในระดับ ประกาศนืยบัดรบัณฑิตวิช-ซีพครู
๓. หากผู้สมัครมีคุณสมบัติดังกล่าว ได้รับการเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไปใน ตำแหน่งดังกล่าวแลัว ลัามีความประสงค์จะสมัครสอบในตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงาน กศน. จะต้องมี คุณสมบัติตามที่ ก.ค.ศ. และคุรุสภากำหนด โดยคุณสมบัติของพนักงานราชการทั่วไปดังกล่าว ไม่ผูกพันกับ คุณสมบัติการรับสมัครสอบครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงาน กศน. แต่อย่างใด
นักจัดการงานทั่วไป
๑) ได้รับวุฒการศึกษาไม่ตากว่าปริญญาตรีทุกสาชา
๒) มิความรู้ ความสามารถไนการไข้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
๑) ได้รับประกาศนึยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หริอคุณวุฒอย่างอื่นที่เทียบได้ระคับเดียวกัน
๒) มีความรู้ความรู้ความสามารถไนการใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบดงานได้เป็นอย่างดี
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
ด้านการวางแผน (P)
๑. สำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเปัาหมายที่รับผิดชอบ และข้อมูลบริบทชอง ชุมชนในคูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (คคช.) ที่รับผิดชอบ ดามรูปแบบการวางแผนจุลภาค อย่างมีคุณภาพ
๒. การจัดทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล
๓. จัดทำคำรับรองการปฏิบัตราขการกับผู้บังคับบัญชา
๔. จัดทำแผนปฏิน้ดงาน ประจำปีงบประมาณ
ด้านคำเน้นการ (D)
นำแผนปฏิบดงานไปสู่การปฏีบัดโดย
๑. จัดการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือหรือผู้ลืมหนังสือ ตามเกณฑ์ที่กำหนด หากในพึ๋นที่ ที่รับผิดชอบไม่มีผู้ไม่รู้หนังสือหรือผู้สืมหนังสือให้ดำเน้นการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระคับการศึกษาชั้นพึ้นฐาน พ.ศ. ๒๔๕๑ ดามเกณฑ์ที่กำหนด
๒. จัดและส่งเสริม สนับสบุน และประสานงาน การจัดการเรียนรู้ ดามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพืยง ดจิท้ลชุมชน การเรียนรู้และเผยแพร่ประชาธึปโดย และการศึกษาตลอดชีวิด โดยไข้ชุมชนเป็นฐาน
๓. จัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาดามอัธยาคัย
๔. จัด ศศช. ให้เป็นศนย์ข้อมูลข่าวสารเพี่อการเรียนรู้ของหมู่บัานเป้าหมาย ให้เป็นไปตาม มาตรฐานที่สำนักงาน กศน. จังหวัด กำหนด เข่น
– ป้ายแสดงข้อมูลของประชากร
– ประวิด แผนที่
– หลักสูตรที่จัดหรีอไห้บริการการศึกษา
– ผู้เรียน/ผู้รับบริการ และผู้จบการศึกษา
– ภูมิป้ญญา/แหล่งเรียนรู้
๕. จัดและส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่องตามโครงการพระราชดำริ
๖. ปฏีบัดงานอื่นๆ ดามที่โด้รับมอบหมาย
ด้านการตรวจสอบและประเมินผล (C)
พิจารณาจำนวนรัอยละผู้จบหลักสูตรในแต่ละหลักสูดรของผู้เรียนและผู้รับบริการ โดยให้มิ การวัดและประเมินผลให้เป็นไปดามดัวขี้วัดที่กำหนด
ด้านการปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบัติงาน (A)
๑. สรุปผลการปฏิบัติงาน หรือความสำเร็จของงานที่!ด้ดำเนินการ
๒. นำเสนอผลการปฏิบัดึงานเหนว่าด้องปรับปรุง และพัฒนา โดยให้มีแนวทางพัฒนาปรับปรุง ที่ชัดเจน
๓. มีผลปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) อย่างน้อย ๑ ผลงาน
นักจัดการงานทั่วไป
ปฏิบัติงานบริหารจัดการภายในสำนักงาน และการบริหารราชการทั่วไป ศึกษา วิเคราะห์ เกี่ยวกับข้อมูล สถิต การรายงาน ช่วยวางแผนและติดตามงาน การติดต่อนัดหมาย จัดงานรับรองและงานพิธี ต่าง ๆ เตรียมเรื่องและเตรียมการสำหรับการประชุม จดบันทึก และเรียบเรียงรายงานการประชุมทางวิชาการ และรายงานอื่น ๆ ติดตามผลการปฏิบัติงานตามมดีที่ประชุม หรีอผลการปฏิบัติงานตามคำลังหัวหนัาหน่วยงาน ควบคุม และบรีหารงานด้านงานสารบรรณ งานบรีหารทรัพยากรบุคคล งานจัดระบบงาน งานบริหาร งบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานบริหารอาคารสถานที่ งานเอกสาร งานระเบียบแบบแผน งาน รวบรวมข้อมูลสถิต งานสัญญา และปฏิบัติหนัาที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
ปฏิบัดิงานทางการเงินและบัญชี ชื่งมีลักษณะงานที่ปฏิบ้ติเกี่ยวกับเงิน การงบประมาณ และ การบัญชีทั่วไปชองส่วนราชการ เช่น การตรวจสอบหลักฐานใบสำคัญคู่จ่ายเงิน ลงบัญชี ทำรายงาน การบัญชี รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับการขอจัดดั้งงบประมาณ รายริบ-รายจ่ายประจำบึเ ทำหนังลือชี้แจง โต้ตอบด้าน งบประมาณและปฏีบติงานอื่น ๆ ดามทั่[ด้รับมอบหมาย
วิชาที่สอบ
ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
๑.๑.๑ ทดสอบวิชาความสามารถทั่วไป และวิชาภาษาไทย ดังต่อไปนี้
๑) วิชาความลามารถทั่วไป เป็นการทดสอบเพี่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านการคิดคำนวณ
โดยทดสอบความสามารถในการประยุกต่ไข้ความคิดรวบยอดทางคณีดศาสตร์ เนี้องด้น การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของจำนวนหรือปริมาณ การแกัปัญหาเชีง ปริมาณ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชีงปริมาณต่าง ๆ และ
(ข) ด้านเหตุผล
โดยทดสอบความสามารถในการคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงของคำ ข้อความ หรือ รูปภาพ การหาข้อยุตหรือข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่าง ๆ
๒) วิชาภาษาไทย เป็นการทดสอบเพี่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านความเข้าใจภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการอ่านและการทำความเข้าใจกับบทความหรือ ข้อความที่กำหนดให้ แลัวตอบคำถามทีดามมาในแต่ละบทความ หรือข้อความ รวมทั้งการสรุปความและดึความ และ
(ข) ด้านการใช้ภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการเลือกใช้คำหรือกลุ่มคำ การเขียนประโยคไต้ถูกต้อง ดามหลักภาษาและการเรียงข้อความ
๑.๑.๒. วิชาความร้พึ้นฐาน่ในการปฎิบ้ดราชการ ดังต่อไปนี้
๑) พระราชกฤษฎึกาว,าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมิองที่ดึ
พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเต็ม
๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไชเพิ่มเติม
๓) พระราชบัญญัตส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑
๔) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไชเพิ่มเต็ม
๕) พระราชบัญญัดความรับผดทางละเมิดชองเจ้าหนัาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
๖) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารชองราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๗) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และประกาศคณะ กรรมการบรีหารพนักงานราชการกำหนด
๘) ความรูเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหนัาที่ ภารกิจ นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ชองสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาศัย
๙) ความร้ความสามารถเกี่ยวกับการไข้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเรีจรูปต่างๆ เข่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Power point
๑.๒ ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
๑) การจ้ดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๒) การพัฒนาหลักสูตร
๓) ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
๔) การจัดทำแผนงาน โครงการ
๕) การติดตามและประเมินผลการดำเนนงาน การจัดการศึกษา
๖) สื่อการเรียนการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๗) การวัดและประเมินผลการศึกษา
๘) ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน และการประสานงานกับหน่วยงานและ บุคลากรในเครือข่ายทางการศึกษา
๙) การจัดกิจกรรมการเรียนร้ในชุมชน และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อตอบสนองนโยบาย/โครงการโนพึ๋นที่เฉพาะ
๒. การสอบโดยข้อสอบอัตนัย (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
โดยประเมินจากแบบทดสอบความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
นักจัดการงานทั่วไป
๑.๑ ความรู้ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม ๕0 คะแนน)
๑.๑.๑ ทดสอบวิชาความสามารถทั่วไป และวิชาภาษาไทย ดังต่อไปบี้
๑) วิชาความสามารถทั่วไป เป็นการทดสอบเพี่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านการคดคำนวณ
โดยทดสอบความสามารถในการประยุกต์ไข้ความคดรวบยอดทางคณ์ตศาสตร์ เบึ้องด้น การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ชองจำนวนหริอปริมาณ การแกับีญหา เชีงปริมาณ และการวิเคราะห์ข้อมูลเซิงปริมาณต่าง ๆ และ
(ช) ด้านเหตุผล
โดยทดสอบความสามารถในการคดหาความสัมพันธ์เชี่อมโยงชองคำ ข้อความ หรีอ รูปภาพ การหาข้อยุติหรือข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่าง ๆ
๒) วิชาภาษาไทย เป็นการทดสอบเพื่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านความเช้าใจภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการอ่านและการทำความเช้าใจกับบทความหรือ ซัอความที่กำหนดให้ แลัวตอบคำถามที่ดามมาในแต่ละบทความ หรือข้อความ รวมทั้งการสรุปความและตีความ และ
(ข) ด้านการใข้ภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการเลึอกใช้คำหรือกลุ่มคำ การเขียนประโยคได้ถูกด้อง ตามหลักภาษาและการเรียงข้อความ
๑.๑.๒ วิชาความรู้พื้นฐานไนการปฎบ้ตราชการ ดังต่อไปนี้
๑) พระราชกฤษฎึกาว่าด้วยหลักเกณฑและวิธีการบรีหารกิจการบ้านเมึองที่ตี
พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒) พระราชบัญญติระเบียบบรีหารราชการกระทรวงศึกษาธีการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และ ที่แก้ไขเพื่มเติม
๓) พระราชบัญญ้ติส่งเสรีมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอ่ธยาศย พ.ศ.
๒๕๕๑
๔) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๕) พระราชบัญญ้ติความรับผิดทางละเมดของเจ้าหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
๖) พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๗) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และประกาศ คณะกรรมการบรีหารพนักงานราชการกำหนด
๘) ความรู้เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหนัาที่ ภารกิจ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของสำนักงานส่งเสรีมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดาม อ้ธยาดัย
๙) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการใช้คอมพัวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ เข่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Power point
๑.๒ ความรู้ความสามารถเฉพาะพำแหนุ่ง (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
๑) พระราชบัญญ้ติการจัดชึ้อจัดจ้างและการบรีหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซี้อ จัดจ้างและการบรีหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๓) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไข เพิ่มเติม
๔) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราขการ พศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๕) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แก้ไชเพิ่มเติม
๖) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และวางแผน การประสานงาน ปละการจัดการ องค์การ
๗) ความรู้เกี่ยวกับการบรีหารงบประมาณ
๘) ความรู้เกี่ยวกับการบรีหารงานบุคคล
๙) ความรู้เกี่ยวกับการจดบันทึกและสรุปรายงาน
๒. การสอบโดยข้อสอบอัดนัย (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
โดยประเมินจากแบบทดสอบความรูความสามารถในการปฎบตงานในตำแหน่ง
การประเมินครั้งที่ ๒ โดยการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
การประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคล โดยพจารณาจาก ความรู ประสบการณ์ทำงาน ความสามารถที่จะทำงานในหนัาที่ ความคิดริเริมสร้างสรรค์ เชาวน์ปัญญา ความคล่องแคล่วว่องไวในการ แก้ปัญหา การแสดงความคิดเห็นในเรื่องด่าง ๆ และความพร้อมชองผู้สมัคร บุคลิกภาพ ท่วงทีวาจา รูพิภาวะ ทางอารมณ์ ความประพฤติและอุปนิสัย การปรับตัวและมบุษยสัมพันธ์ แรงจูงใจ จริยธรรม คุณธรรม
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
๑.๑.๑ ทดสอบวิชาความสามารถทั่วไป และวิชาภาษาไทย ดังต่อไปนี้
๑) วิชาความสามารถทั่วไป เป็นการทดสอบเพี่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านการคิดคำนวณ
โดยทดสอบความสามารถในการประยุกต์ไข้ความคิดรวบยอดทางคณ์ตศาสตร์ เนี้องด้น การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ชองจำนวนหริอปริมาณ การแกัปัญหาเชิง ปริมาณ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณต่าง ๆ และ
(ข) ด้านเหตุผล
โดยทดสอบความสามารถในการคิดหาความสัมพันธ์เขอมโยงของคำ ข้อความ หรือ รูปภาพ การหาข้อยุติหรือข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่าง ๆ
๒) วิชาภาษาไทย เป็นการทดสอบเพี่อวัดความสามารถ
(ก) ด้านความเข้าใจภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการอ่านและการทำความเข้าใจกับบทความหรือ ข้อความทีกำหนดให์ แลัวตอบคำถามทีดามมาไนแต่ละบทความ หรือข้อความ รวมทั้งการสรุปความและตีความ และ
(ข) ด้านการใช้ภาษา
โดยทดสอบความสามารถในการเลือกใช้คำหรือกลุ่มคำ การเขยนประโยคได้ถูกต้อง ดามหลักภาษาและการเรียงข้อความ
๑.๑.๖ วิชาความรู้พื้นฐานในการปฎีบ้ดราชการ ดังต่อไปนี้
๑) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑและวิธีการบรีหารกิจการบ้านเมิองที่ดี พ.ค.
๖๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเตม
๖) พระราชบ้ญญ้ตระเบียบบรีหารราชการกระทรวงศึกษาธึการ พ.ศ. ๖๕๔๖ และที่ แกัIขเพื้มเต็ม
๓) พระราชบัญญ้ตส่งเสรีมการศึกษานอกระบบและการศึกษาดามอัธยาศัย พ.ศ. ๖๕๕๑
๔) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๖๕๖๖ และที่แก้ไขเพื้มเต็ม
๕) พระราชนัญญ้ต็ความรับผดทางละเมิดจองเจ้าหนาที่ พ.ศ. ๖๕๓๙
๖) พระราชนัญญ้ตข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๖๕๔๐
๗) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๖๕๔๗ และประกาศ คณะกรรมการบรีหารพนักงานราชการกำหนด
๘) ความรู้เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ ทันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ ของสำนักงานส่งเสรีม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๙) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอรืโปรแกรมสำเรืจรูปต่างๆ เข่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Power point
๑.๖ ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
๑) ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชีเนี้องด้น และ ระบบการควบคุมการเงินชอง หน่วยงานย่อย
๖) ความรู้เกี่ยวกับระบบบรีหารการเงินการคลังภาครัฐรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS Government Fiscal Management information System)
๓) พระราชบัญญ้ตวินัยทางการเงิน การคลังชองรัฐ พ.ศ. ๖๕๖๑
๔) ระเบียบว่าด้วยการบรีหารงบประมาณ พ.ศ. ๖๕๖๖ และหลักการจำแนก ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
๕) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบีกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๖๕๖๖
๖) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการใช้จ่ายในการนึกอบรม การอัดการ ประชุม ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๖๕๕๕
๗) แนวทางการปฎีบ้ดการเบิกจ่ายของราชการ
๒. การสอบโดยขอสอบอัตนัย (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
โดยประเมนจากแบบทดสอบความรู้ความสามารถในการปฎีบ้ดงานในตำแหน่ง
การประเมินครั้งที่ ๒ โดยการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
การประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคล โดยพจารณาจาก ความรู้ ประสบการณ์ทำงาน ความสามารถที่จะทำงานในหน้าที่ ความคิดรืเรีมสรัางสรรค์ เชาวน์ปัญญา ความคล่องแคส่วว่องไวในการ แกัปัญหา การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และความพร้อมของผู้สมัคร บุคลืกภาพ ท่วงทีวาจา ๅฌิภาวะ ทางอารมณ์ ความประพฤต็และอุปนิสัย การปรับตัวและมนษยสัมพันธ์ แรงจุงใจ จรียธรรม คุณธรรม
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กศน. :ตนเอง
ผู้ประสงค์จะสมัครยื่นในสมัครและหลักฐานด่าง ๆ ด้วยดนเอง
สำนักงาน กศน.จังหวัดเขียงใหม่ สำนักงาน กศน.จังหวัดเขียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 – 19 พฤศจิกายน 2564 (ในวันและเวลาราชการ)
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ : 14 พ.ย. 2564
สอบวันที่: 14 พ.ย. 2564
ประกาศผลสอบ: 14 พ.ย. 2564
ดาวน์โหลดไฟล์ “กศน.