Categories
รายงานพิเศษ สอบท้องถิ่น 2563-2564

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกาศหลักเกณฑ์,สอบเลื่อน,นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,นิติกร,นักวิชาการเงินและบัญชี

title=กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกาศหลักเกณฑ์,สอบเลื่อน,นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,นิติกร,นักวิชาการเงินและบัญชีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

ลิงค์: https://ehenx.com/1819/ หรือ
เรื่อง: ประกาศหลักเกณฑ์,สอบเลื่อน,นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,นิติกร,นักวิชาการเงินและบัญชี


กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เปิดรับสมัครสอบ

ประกาศ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนสามัญที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

ด้วยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จดำเนินการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนสามัญที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งนักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตำแหน่งนิติกร และตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี จึงประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนสามัญที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ดังนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

ตำแหน่ง นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

ตำแหน่ง นิติกร

ตำแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

ผู้มีสิทธิสมัครเข้ารับการคัดเลือกต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันที่ปิดรับสมัคร ดังนี้

  1. เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ
  2. มีคุณสมัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งหรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. แล้ว และ
  3. ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่า กรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่นมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และ
  4. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล และระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้
    1. ไม่น้อยกว่า 8 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
    2. ไม่น้อยกว่า 6 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเท่า
    3. ไม่น้อยกว่า 4 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า
      ในกรณีที่ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้งไม่ครบ ให้พิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแนห่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง โดยพิจารณาจากระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 3 หรือเทียบเท่า ทั้งนี้ ให้พิจารณาตามลักษณะงานที่ปฏิบัติจริงของข้าราชการแต่ละรายและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับและให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ตามข้อเท็จจริงและลักษณะงานที่ปฏิบัติ เว้นแต่การนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2 หรือสายงานที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นำมานับ และ
  5. ดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี
    ในกรณีที่ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งไม่ครบ 1 ปี อาจพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้ง มานับรวมเป็นระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งให้ครบ 1 ปี โดยให้นับเฉพาะการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 หรือระดับ 4 หรือสายงานที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น และขณะนำเวลาดังกล่าวมานับผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำหน่งและข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งจะต้องมีคำสั่งรักษาราชการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง หรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจน รวมทั้งต้อมีการปฏิบัติงานจริงด้วย โดยมีแนวทางการพิจารณาตามที่ ก.พ. กำหนด คือต้องมีคำสั่งที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็คำสั่งรักษาการในตำแหน่งหรือคำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งใดๆ ซึ่งต้องระบุตำแหน่งและเลขที่ตำแหน่งที่ไปรักษาการหรือไปปฏิบัติหน้าที่ให้ชัดเจน
    กรณีข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในพื้นที่ตามข้อ 2-5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา เฉพาะพื้นที่อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวี และอำเภอจะนะ) ตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550 ถึงวันปิดรับสมัครให้นำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวมานับระยะเวลาทวีคูณตามความในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบำเหน็จความชอบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2550 และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 1 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2551

หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก

อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในการดำเนินการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยมีองค์ประกอบ ขั้นอตน และวิธีการการคัดเลือก ดังนี้

1. องค์ประกอบการคัดเลือก

ให้พิจารณาจาก 2 องค์ประกอบ จำนวน 200 คะแนนเต็ม ดังนี้

2.1.1 องค์ประกอบที่ 1 การประเมินความรู้ความสามารถทางวิชาการ

ให้ประเมินด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย จำนวน 100 คะแนนเต็ม ดังนี้

  1. องค์ประกอบย่อยที่ 1 การประเมินความรู้ความสามารถทั่วไป จำนวน 30 คะแนน
  2. องค์ประกอบย่อยที่ 2 การประเมินความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง จำนวน 70 คะแนน

2.1.2 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง

ให้ประเมินจาก 2 องค์ประกอบย่อย จำนวน 100 คะแนนเต็ม ดังนี้

1. องค์ประกอบย่อยที่ 1 การประเมินบุคคล ผลงาน และการสัมภาษณ์ จำนวน 50 คะแนน ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

1.1 ผลการประเมินคุณลักษณะของบุคคลจากผู้บังคับบัญชาและผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 1 ระดับ ตามองค์ประกอบการประเมินที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด จำนวน 10 คะแนน (เอกสารแนบ 1)

1.2 การพิจารณาเค้าโครงเอกสารผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จำนวน 20 คะแนน ดังนี้ (เอกสารแนบ 2)

1.2.1 เค้าโครงเอกาสรผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านามาย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี จำนวน 1 เรื่อง จำนวน 10 คะแนน โดยจะต้องระบุชื่อผลงาน สัดส่วนของผลงานในสว่นที่ตนเองปฏิบัติและรายชื่อผูร่วมจัดทำผลงาน (ถ้ามี) ตามรูปแบบที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด

1.2.2 ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จำนวน 1 เรื่อง จำนวน 10 คะแนน ตามรูปแบบที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด

1.3 การสัมภาษณ์ จำนวน 20 คะแนน ให้ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

1.3.1 บุคลิกลักษณะ

1.3.2 ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ทักษะในการแก้ปัญหา และสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

1.3.3 การนำเสนอและตอบข้อซักถามกี่ยวกับเค้าโครงผลงานและข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่พัฒนาหรือปรับปรุงงานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้งให้มีประสิทธิภาพ

1.3.4 การตอบคำถามอื่นๆ

2. องค์ประกอบย่อยที่ 2 ประวัติการรับราชการ จำนวน 50 คะแนน ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

2.1 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ จำนวน 30 คะแนน โดยเริ่มนับตั้งแต่วันเข้าสู่ระดับชำนาญการ (นับรวมการดำรงตำแหน่งระดับ 6/6 ว และ 7 ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535) โดยกำหนดวิธีการคำนวณ ดังนี้

2.1.1 นับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 เป็นเดือน (นับถึงวันปิดรับสมัคร) โดยเศษของวันให้ปัดทิ้ง

กรณีข้าราชการผู้ดำรงตำหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา เฉพาะพื้นที่อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวี และอำเภอจะนะ) ตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550 ถึงวันที่ปิดรับสมัคร ให้นำระยะเวลาการดำรงตำหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวมานับระยะเวลาทวีคูณตามความในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบำเหน็จความชอบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัิตงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2550 และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 1 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2551

2.1.2 นำจำนวนเดือนของผู้สมัครที่ผ่านาการประเมินในขั้นตอนที่ 1 มาคูณค่าคะแนนมาตรฐานที่สอดคล้องกับลักษณะงานและค่างานของแต่ละระดับตำแหน่ง ดังนี้

2.1.2.1 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งระดับ 6 หรือเทียบเท่าตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 โดยต้องเป็นตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 คูณค่าคะแนนมาตรฐาน คือ 1.0

2.1.2.2 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งระดับ 7 หรือเทียบเท่า ตามพระราชบัญญํติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 โดยต้องเป็นตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 คูณค่าคะแนนมารตรฐาน คือ 1.5

2.1.2.3 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่า ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม 2551 เป็นต้นมา) คูณค่าคะแนนมาตรฐาน คือ 1.0

2.1.2.4 รวมระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งทั้งหมดของแต่ละคน และตรวจสอบจำนวนเดือนของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งมากที่สุด

2.1.2.5 ให้ผู้ที่มีระยะเวลาการดำรงตำหน่งตาม 2.1.2.4 ที่มากที่สุดได้ 30 คะแนนเต็ม ส่วนผู้อื่นจะคิดคะแนนโดยวิธีการเทียบบัญญัติไตรยางค์ตามสูตร ดังนี้

T = (Y x S) ÷ M

T = คะแนนระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง
Y = ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 แต่ละคน
S = คะแนนเต็ม
M = ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มากที่สุด

(คะแนนระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง เท่ากับ ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 แต่ละคน คูณด้วยคะแนนเต็ม แล้วนำมาหารด้วย ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มากที่สุด)

2.2 วุฒิการศึกษา จำนวน 10 คะแนน พิจารณาเฉพาะวุฒิที่ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของตำแหน่งที่คัดเลือก โดยพิจารณาวุฒิการศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในระดับสูงสุด แบ่งเป็น

2.2.1 ปริญญาเอก จำนวน 10 คะแนน

2.2.2 ปริญญาโท จำนวน 8 คะแนน

2.2.3 ปริญญาตรี จำนวน 6 คะแนน

กรณีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกสำเร็จการศึกษาวุฒิเดียวกันซึ่งเป็นวุฒิการศึกษาระดับสูงสุดในหลายสาขาวิชา (ได้รับปริญญามากกว่า 1 ปริญญา) จะไม่นับคะแนนเพิ่มให้เนื่องจากเป็นการสำเร็จการศึกษาในระดับเดียวกัน

สำหรับหากมีกรณีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ซึ่งใช้วุฒิบัตรหลักสูตรโรงเรียนปลัดอำเภอ วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ซึ่ง ก.พ. เทียบให้เสมือนผู้มีคุณวุฒิปริญญาตรีตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ให้ผู้นั้นได้รับจำนวน 4 คะแนน

2.3 ประวัติการดำเนินการทางวินัย จำนวน 10 คะแนน พิจารณาตั้งแต่เริ่มรับราชการถึงวันปิดรับสมัครดังนี้

2.3.1 ไม่เคยมีโทษทางวินัย จำนวน 10 คะแนน

2.3.2 เคยถูกลงโทษภาคทัณฑ์ จำนวน 8 คะแนน

2.3.3 เคยถูกลงโทษตัดเงินเดือน จำนวน 6 คะแนน

2.3.4 เคยถูกลงโทษลดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน จำนวน 4 คะแนน

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน  

2.3.5 เคยถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก จำนวน 0 คะแนน

กรณีที่ข้าราชการถูกลงโทษทางวินัยหลายครั้ง ให้นำการถูกลงโทษทางวินัยครั้งที่ร้ายแรงที่สุดมาคำนวณคะแนน

ทั้งนี้ การพิจารณาประวัติการกระทำผิดทางวินัยจนถูกลงโทษนี้จไม่ได้รับการยกเว้นแม้ว่าจะได้รับการล้างมลทิน โดยพระราชบัญญัติการล้างมลทินฯ ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 694/2539 ซึ่งวินิจฉัยว่า “ตามที่พระราชบัญญัติล้างมลทินฯ ระบุให้ถือว่าผู้นั้นมิเคยถูกลงโทษหรือลงทัณฑ์ทางวินัยในกรณีนั้นๆ หมายความเพียงว่า ผู้ที่ถูกลงโทษทางวินัยไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยเท่านั้น หาได้หมายความว่าประพฤติหรือการกระทำที่เป็นเหตุให้บุคคลนั้นถูกลงโทษทางวินัยลบล้างไปด้วยไม่”

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมดาวน์โหลดประกาศได้ที่ลิงค์ด้านล่าง

ผู้มีสิทธิสมัครเข้ารับการคัดเลือกต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันที่ปิดรับสมัคร ดังนี้

  1. เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ
  2. มีคุณสมัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งหรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. แล้ว และ
  3. ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่า กรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่นมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และ
  4. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล และระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้
    1. ไม่น้อยกว่า 8 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
    2. ไม่น้อยกว่า 6 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเท่า
    3. ไม่น้อยกว่า 4 ปี สำหรับผู้ได้รับวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า
      ในกรณีที่ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้งไม่ครบ ให้พิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแนห่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง โดยพิจารณาจากระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 3 หรือเทียบเท่า ทั้งนี้ ให้พิจารณาตามลักษณะงานที่ปฏิบัติจริงของข้าราชการแต่ละรายและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับและให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ตามข้อเท็จจริงและลักษณะงานที่ปฏิบัติ เว้นแต่การนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2 หรือสายงานที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นำมานับ และ
  5. ดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี
    ในกรณีที่ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งไม่ครบ 1 ปี อาจพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้ง มานับรวมเป็นระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งให้ครบ 1 ปี โดยให้นับเฉพาะการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 หรือระดับ 4 หรือสายงานที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น และขณะนำเวลาดังกล่าวมานับผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำหน่งและข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งจะต้องมีคำสั่งรักษาราชการแทนหรือรักษาการในตำแหน่ง หรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจน รวมทั้งต้อมีการปฏิบัติงานจริงด้วย โดยมีแนวทางการพิจารณาตามที่ ก.พ. กำหนด คือต้องมีคำสั่งที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็คำสั่งรักษาการในตำแหน่งหรือคำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งใดๆ ซึ่งต้องระบุตำแหน่งและเลขที่ตำแหน่งที่ไปรักษาการหรือไปปฏิบัติหน้าที่ให้ชัดเจน
    กรณีข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในพื้นที่ตามข้อ 2-5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา เฉพาะพื้นที่อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวี และอำเภอจะนะ) ตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550 ถึงวันปิดรับสมัครให้นำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวมานับระยะเวลาทวีคูณตามความในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบำเหน็จความชอบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2550 และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 1 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2551

หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก

อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกในการดำเนินการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยมีองค์ประกอบ ขั้นอตน และวิธีการการคัดเลือก ดังนี้

1. องค์ประกอบการคัดเลือก

ให้พิจารณาจาก 2 องค์ประกอบ จำนวน 200 คะแนนเต็ม ดังนี้

2.1.1 องค์ประกอบที่ 1 การประเมินความรู้ความสามารถทางวิชาการ

ให้ประเมินด้วยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย จำนวน 100 คะแนนเต็ม ดังนี้

  1. องค์ประกอบย่อยที่ 1 การประเมินความรู้ความสามารถทั่วไป จำนวน 30 คะแนน
  2. องค์ประกอบย่อยที่ 2 การประเมินความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง จำนวน 70 คะแนน

2.1.2 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง

ให้ประเมินจาก 2 องค์ประกอบย่อย จำนวน 100 คะแนนเต็ม ดังนี้

1. องค์ประกอบย่อยที่ 1 การประเมินบุคคล ผลงาน และการสัมภาษณ์ จำนวน 50 คะแนน ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

1.1 ผลการประเมินคุณลักษณะของบุคคลจากผู้บังคับบัญชาและผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 1 ระดับ ตามองค์ประกอบการประเมินที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด จำนวน 10 คะแนน (เอกสารแนบ 1)

1.2 การพิจารณาเค้าโครงเอกสารผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จำนวน 20 คะแนน ดังนี้ (เอกสารแนบ 2)

1.2.1 เค้าโครงเอกาสรผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านามาย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี จำนวน 1 เรื่อง จำนวน 10 คะแนน โดยจะต้องระบุชื่อผลงาน สัดส่วนของผลงานในสว่นที่ตนเองปฏิบัติและรายชื่อผูร่วมจัดทำผลงาน (ถ้ามี) ตามรูปแบบที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด

1.2.2 ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จำนวน 1 เรื่อง จำนวน 10 คะแนน ตามรูปแบบที่ อ.ก.พ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด

1.3 การสัมภาษณ์ จำนวน 20 คะแนน ให้ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

1.3.1 บุคลิกลักษณะ

1.3.2 ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ทักษะในการแก้ปัญหา และสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

1.3.3 การนำเสนอและตอบข้อซักถามกี่ยวกับเค้าโครงผลงานและข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่พัฒนาหรือปรับปรุงงานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้งให้มีประสิทธิภาพ

1.3.4 การตอบคำถามอื่นๆ

2. องค์ประกอบย่อยที่ 2 ประวัติการรับราชการ จำนวน 50 คะแนน ประเมินจากองค์ประกอบ ดังนี้

2.1 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ จำนวน 30 คะแนน โดยเริ่มนับตั้งแต่วันเข้าสู่ระดับชำนาญการ (นับรวมการดำรงตำแหน่งระดับ 6/6 ว และ 7 ว ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535) โดยกำหนดวิธีการคำนวณ ดังนี้

2.1.1 นับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 เป็นเดือน (นับถึงวันปิดรับสมัคร) โดยเศษของวันให้ปัดทิ้ง

กรณีข้าราชการผู้ดำรงตำหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา เฉพาะพื้นที่อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวี และอำเภอจะนะ) ตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550 ถึงวันที่ปิดรับสมัคร ให้นำระยะเวลาการดำรงตำหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวมานับระยะเวลาทวีคูณตามความในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบำเหน็จความชอบสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัิตงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2550 และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 1 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2551

2.1.2 นำจำนวนเดือนของผู้สมัครที่ผ่านาการประเมินในขั้นตอนที่ 1 มาคูณค่าคะแนนมาตรฐานที่สอดคล้องกับลักษณะงานและค่างานของแต่ละระดับตำแหน่ง ดังนี้

2.1.2.1 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งระดับ 6 หรือเทียบเท่าตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 โดยต้องเป็นตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 คูณค่าคะแนนมาตรฐาน คือ 1.0

2.1.2.2 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งระดับ 7 หรือเทียบเท่า ตามพระราชบัญญํติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 โดยต้องเป็นตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 คูณค่าคะแนนมารตรฐาน คือ 1.5

2.1.2.3 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่า ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม 2551 เป็นต้นมา) คูณค่าคะแนนมาตรฐาน คือ 1.0

2.1.2.4 รวมระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งทั้งหมดของแต่ละคน และตรวจสอบจำนวนเดือนของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มีระยะเวลาการดำรงตำแหน่งมากที่สุด

2.1.2.5 ให้ผู้ที่มีระยะเวลาการดำรงตำหน่งตาม 2.1.2.4 ที่มากที่สุดได้ 30 คะแนนเต็ม ส่วนผู้อื่นจะคิดคะแนนโดยวิธีการเทียบบัญญัติไตรยางค์ตามสูตร ดังนี้

T = (Y x S) ÷ M

T = คะแนนระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง
Y = ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 แต่ละคน
S = คะแนนเต็ม
M = ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มากที่สุด

(คะแนนระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง เท่ากับ ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 แต่ละคน คูณด้วยคะแนนเต็ม แล้วนำมาหารด้วย ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้สมัครที่ผ่านการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ที่มากที่สุด)

2.2 วุฒิการศึกษา จำนวน 10 คะแนน พิจารณาเฉพาะวุฒิที่ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของตำแหน่งที่คัดเลือก โดยพิจารณาวุฒิการศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในระดับสูงสุด แบ่งเป็น

2.2.1 ปริญญาเอก จำนวน 10 คะแนน

2.2.2 ปริญญาโท จำนวน 8 คะแนน

2.2.3 ปริญญาตรี จำนวน 6 คะแนน

กรณีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกสำเร็จการศึกษาวุฒิเดียวกันซึ่งเป็นวุฒิการศึกษาระดับสูงสุดในหลายสาขาวิชา (ได้รับปริญญามากกว่า 1 ปริญญา) จะไม่นับคะแนนเพิ่มให้เนื่องจากเป็นการสำเร็จการศึกษาในระดับเดียวกัน

สำหรับหากมีกรณีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ซึ่งใช้วุฒิบัตรหลักสูตรโรงเรียนปลัดอำเภอ วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ซึ่ง ก.พ. เทียบให้เสมือนผู้มีคุณวุฒิปริญญาตรีตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ให้ผู้นั้นได้รับจำนวน 4 คะแนน

2.3 ประวัติการดำเนินการทางวินัย จำนวน 10 คะแนน พิจารณาตั้งแต่เริ่มรับราชการถึงวันปิดรับสมัครดังนี้

2.3.1 ไม่เคยมีโทษทางวินัย จำนวน 10 คะแนน

2.3.2 เคยถูกลงโทษภาคทัณฑ์ จำนวน 8 คะแนน

2.3.3 เคยถูกลงโทษตัดเงินเดือน จำนวน 6 คะแนน

2.3.4 เคยถูกลงโทษลดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน จำนวน 4 คะแนน

2.3.5 เคยถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก จำนวน 0 คะแนน

กรณีที่ข้าราชการถูกลงโทษทางวินัยหลายครั้ง ให้นำการถูกลงโทษทางวินัยครั้งที่ร้ายแรงที่สุดมาคำนวณคะแนน

ทั้งนี้ การพิจารณาประวัติการกระทำผิดทางวินัยจนถูกลงโทษนี้จไม่ได้รับการยกเว้นแม้ว่าจะได้รับการล้างมลทิน โดยพระราชบัญญัติการล้างมลทินฯ ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 694/2539 ซึ่งวินิจฉัยว่า “ตามที่พระราชบัญญัติล้างมลทินฯ ระบุให้ถือว่าผู้นั้นมิเคยถูกลงโทษหรือลงทัณฑ์ทางวินัยในกรณีนั้นๆ หมายความเพียงว่า ผู้ที่ถูกลงโทษทางวินัยไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยเท่านั้น หาได้หมายความว่าประพฤติหรือการกระทำที่เป็นเหตุให้บุคคลนั้นถูกลงโทษทางวินัยลบล้างไปด้วยไม่”

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมดาวน์โหลดประกาศได้ที่ลิงค์ด้านล่าง

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

แผนที่ | ประกาศ 1 | 2 |

Comments

comments

ข่าวงานราชการเปิดสอบ 2567-2569
Privacy Overview

This website uses cookies so that we can provide you with the best user experience possible. Cookie information is stored in your browser and performs functions such as recognising you when you return to our website and helping our team to understand which sections of the website you find most interesting and useful.