“สมอ.“
ลิงค์: https://ehenx.com/1681/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ,นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,000-
อัตราว่าง: 14
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 26 ธ.ค. – 21 ม.ค. 2562
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
สมอ. เปิดรับสมัครสอบ
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัิตการ และตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ด้วยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จะดำเนินการสอบแข่งขันเืพ่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า) นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา) นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล) นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ) นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร) และตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 6 ตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :2 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 5 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร)
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :1 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 4 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :2 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 3 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :3 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 2 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :3 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
ชื่อตำแหน่ง :ตำแหน่งที่ 1 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
อัตราเงินเดือน :15,000 หรือตามที่ ก.พ.กำหนด
ประเภท :วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง :3 ตำแหน่ง
ระดับการศึกษา :ปริญญาตรี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชานิเทศศาสตร์
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางเทคโนโลยีอาหาร หรือทางวิทยาศาสตร์การอาหาร
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมอุตสาหการ
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล ทางวิศวกรรมยานยนต์ หรือทางวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า ทางวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง ทางวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเผยแพร่ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับอาหาร ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมอุตสาหการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมไฟฟ้า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านปฏิบัติการ
(1) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานและถือปฏิบัติ
(3) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(4) ตรวจสอบการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(5) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(6) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสารทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
(1) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
(1) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(2) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
วิชาที่สอบ
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 6 ตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านนิเทศศาสตร์ (100 คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร)
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 5 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอาหาร)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านอาหาร (100 คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 4 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านอุตสาหการ (100 คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 3 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านเครื่องกล (100 คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 2 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านโยธา (100 คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม 200 คะแนน
ตำแหน่งที่ 1 ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้ด้านการมาตรฐาน (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (50 คะแนน)
– ทดสอบข้อเขียนวิชาความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้า (100 คะแนน)
วิธีการสมัครงานข้าราชการ สมอ. :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 26 ธ.ค. – 21 ม.ค. 2562 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ : 30 ม.ค. 2562
ดาวน์โหลดไฟล์ “สมอ.
แผนที่ | ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |