กรมการขนส่งทางบก
ลิงค์: https://ehenx.com/17440/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-15,000
อัตราว่าง: 9
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 16 ส.ค. – 5 ก.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมการขนส่งทางบก เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งชันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นายช่างโยธาปฏิบัติงาน และนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ด้วยกรมการขนส่งทางบกจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นายช่างโยธาปฏิบัติงาน และนายช่างไฟฟ้า ปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจ ตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่นร ๑๐๐๕/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งชัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งชันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500- บาท
คุณวุฒิ : ปวช.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500- บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500- บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาชาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ หรือสาขาวิชาการเลขานุการ
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นถึง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นถึง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงาน ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงาน ที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูประบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ ความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแล้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่!ด้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและ สภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แล้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงาน ได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลของหน่วยงาน ที่ไม่ขับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของ
หน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้!ด้ระบบงานประยุกต์ ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้!ด้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ทีเป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ สืบคัน และรวบรวมซัอมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เช้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือ!ม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
(๑๐) ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาต เพื่อให้การออกใบอนุญาตเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธที่กำหนด
ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทบตามที่กำหนด
(เอ) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง ความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ด้านการบริการิ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใชั เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์1ด้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้าง ความรู้ความเช้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแกผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ แกั!ขและใข้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงาน ด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทีได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐาน ตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวิใช้งานและอยู่ในสภาพ พร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใซัเสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้!ด้รับซัอมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้อง ตามที่ได้รับมอบหมาย
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้าน ช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ซัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงาน อื่นที่!ด้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เจียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้ตรง ตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และช่อมแชม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับ มอบหมายพร้อมรายงาน ความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บช้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชนหรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและ ร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการ ทำงานของหน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงาน ด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการ ใช้งานดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า สื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตอบสนอง ความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใชในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงานหรือกฎหมายกำหนด ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงาน ได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
หลักสูตรและวิธีการสอบแช่งชัน แบ่งออกเป็น ๒ ภาค ดังนี้
๑.๓.๑ การสอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยทดสอบความรู้ความสามารถด้วยวิธีการสอบซัอเขียน เกี่ยวกับความรู้ดังต่อไปนี้
๑) วิชาความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ (๑๖๐ คะแนน)
– ความรู้เกี่ยวกับระบบเครือช่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
– ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานประยุกต์ ซึ่งครอบคลุมการวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis & Feasibility study) วางแผนแกไขปัญหา (Algorithm Design) การเขียนโปรแกรม (Program Coding) การทดสอบและแกั!ขโปรแกรม (Program Testing Debugging)
– ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
– ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรมระบบงานในลักษณะ Web Application และ Mobile Application
– ความรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
๒) วิชาความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย/ระเบียบ และความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวข้อง (๔๐ คะแนน)
– พระราชบัญญัติว่าด้วยกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แกไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ก็. ๒๕๖๒
– พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒
– พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ก็. ๒๕๖๒
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
หลักสูตรและวิธีการสอบแช่งขัน แบ่งออกเป็น ๒ ภาค ดังนี้
๒.๓.๑ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะดำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยทดสอบความรู้ความสามารถด้วยวิธีการสอบช้อเซียน เกี่ยวกับความรู้ดังต่อไปนี้
๑) พระราชบัญญัติระเบียบช้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
๒) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกั!ขเพิ่มเดิม พ.ศ. ๒๕๔๘
๓) พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๔) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๕) ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
หลักสูตรและวิธีการสอบแช่งขัน แบ่งออกเป็น ๒ ภาค ดังนี้
๓.๓.๑ การสอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยทดสอบความรู้ความสามารถด้วยวิธีการสอบข้อเจียน เกี่ยวกับความรู้ดังต่อไปนี้
๑) ความรู้เกี่ยวกับการเจียนแบบ การสำรวจ การก่อสร้าง การควบคุม เกี่ยวกับงานด้านช่างโยธา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการถอดแบบ และการประมาณราคาด้านช่างโยธา
๓) ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการบริหารงานก่อสร้าง ความรู้เกี่ยวกับการประมาณราคา การตรวจงาน ก่อสร้าง กฎหมายและสัญญาก่อสร้าง การปฏิบัติงานก่อสร้าง และเครื่องจักรก่อสร้าง
๔) ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมเจียนแบบ Auto CAD
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน แบ่งออกเป็น ๒ ภาค ด้งนี้
๔.๓.๑ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยทดสอบความรู้ความสามารถด้วยวิธีการสอบข้อเขียน เกี่ยวกับความรู้ดังต่อไปนี้
๑) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบควบคุมทางไฟฟ้า
๒) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และคำนวณวงจรไฟฟ้า
๓) ความรู้เกี่ยวกับวิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า
๔) ความรู้เกี่ยวกับการปัองกันระบบไฟฟ้ากำลัง
๕) ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบแสงสว่าง และระบบปรับอากาศ
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 16 ส.ค. – 5 ก.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร