Categories
งานราชการ-รัฐวิสาหกิจ เปิดสอบที่น่าสนใจ

สำนักงานสถิติแห่งชาติ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-23 ก.ย. 2565 รวม 20 อัตรา,

สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ลิงค์: https://ehenx.com/17488/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-16,500
อัตราว่าง: 20
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 23 ก.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



สำนักงานสถิติแห่งชาติ เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานสถิติแห่งชาติ

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเช้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการสถิติปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ ตำแหน่งเจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงาน การเงินและบัญชีปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ด้วยสำนักงานสถิติแห่งชาติ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนักวิชาการสถิติปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการ คอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ ตำแหน่งเจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรือง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-10340 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

๑. เป็นผู้ใด้รับปริญญาตรีหรือคุณจุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา คณิตศาสตร์และสถิติ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ ทางประชากรศาสตร์
๒. เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือสูงกว่า


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

๑. เป็นผู้ได้รับปริญญาตรีหรือคุณจุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์
๒. เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

๑. เป็นผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา
๒. เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

๑. เป็นผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ในสาขาวิชาการบัญชีหรือสาขาวิชา การเงินและการธนาคาร
๒. เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

๑. เป็นผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา
๒. เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ในระดับประกาศนืยบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือสูงกว่า

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ทีต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการสถิติ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียมรูปแบบข้อถาม แบบประมวลผล คำนิยาม ศึกษาหามาตรฐานทางสถิติ วิเคราะห์โครงการสถิติของหน่วยสถิติอันเป็นงานด้านสถิติขั้นแรก เพื่อให้การวางแผนงานด้านสถิติขั้นต่อไป เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) เตรียมคู่มือการวางแผนสุ่มตัวอย่างและการประมวลผล รวมทั้งวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางสถิติ เพื่อปรับปรุงการวางแผน การสุ่มตัวอย่างให้มีประสิทธิภาพ
(๓) ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล เพื่อใหได้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริง
(๔) วิเคราะห์ข้อมูล แปลความ จัดทำแผนภมิ/แผนภาพทางสถิติ และนำเสนอเป็นรายงาน เพื่อให้การดำเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานทีรับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการและเผยแพร่สถิติแก,หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อนำไปใช้ ในการวางแผนและการตัดสินใจ
(๒) ให้คำแนะนำแกหน่วยงานต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวิธีทางคณิตศาสตร์ สถิติ ขั้นพื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล และแนวทางการปฏิบัติงานด้านสถิติฟ้องต้น เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ เป็นประโยชน์ในการดำเนินงานของตนเอง
(๓) ให้คำแนะนำ ปรึกษา ในงานด้านวิชาการสถิติแก่เจ้าหน้าทีระดับรองลงมา และแลกเปลี่ยนความรู้ ความชำนาญ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบตในด้านต่างๆ ตังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตํ่งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศตำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เซียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานที่ไม,ซับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานใทัมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้ง ระบบเครื่อง เพี่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ ลีบด้น และรวบรวมข้อมูลการ่ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลห่รือระบบ
(๑๐) ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดเก็บลงบนระบบฐานข้อมูล คลังข้อมูล
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเปัาหมายและผลสัมฤทธิ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทังภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมีอและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี่,แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่!ด้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยชัดทำคู่มือระบบและคู่มีอผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนา แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาคอมพิวเตอร์
(๓) ให้ดำปรึกษา แนะนำ แก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้{ขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

ปฏิบ้ตงานในฐานะผู้ปฏิบ้ติงานระดับต้นด้านสถิติ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ จัดทำ รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลสถิติที่มีความซับช้อนไม่มากนัก เพี่อเป็นฐานข้อมูล หรือข้อมูล สนับสนุนในการจัดทำเอกสารทางวิชาการต่างๆ
(๒) สนับสนุนการปฏิบัติงานสำรวจสถิติ อาทิ ช่วยในการจัดร่างตารางรายงานสถิติ ช่วยร่างแบบสอบถาม เพื่อให้การปฏิบัติงานสำรวจสถิติดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
(๓) จัดหมวดหมู่ และจัดทำทะเบียนข้อมูลสถิติ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการค้นหาข้อมูล
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูลสถิติแก่บุคคลที่สนใจ เพื่อให้บุคคลเหล่านั้นได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานดำเนินไปอย่างราบรื่น

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน  


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานงานสถิติ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) การจัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไป ตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวมรวบรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณ ประจำปีของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและคูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกขน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีแก1เจ้าหน้าที่ ระดับรองลงมา หน่วยงานราขการเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกขน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติ ในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานทีเกี่ยวช้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้องตามที่ได้รับมอบหมาย

วิชาที่สอบ

นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งโดยวิธีการสอบข้อเขียน คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจ เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
๒.๑ พระราชบัญญ้ติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕©
๒.๒ พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔O
๒.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบัานเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๕ พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (PDPA)
๓. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านสถิติ เช่น
๓.๑ การวางแผนการจัดทำสถิติ รวมถึงการกำหนดมาตรฐานทางสถิติ
๓.๒ การรวบรวมข้อมูล
๓.๓ การประมวลผล และการจัดทำข้อมูล
๓.๔ การให้บริการและเผยแพร่ รวมถึงการส่งเสริมวิชาการสถิติ
๓.๕ การควบคุมคุณภาพและการประเมินผลทางสถิติ
๓.๖ การบริหารจัดการระบบสถิติของประเทศ
๔. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมประยุกต้ไนงานสถิติ


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งโดยวิธีการสอบข้อเขียน คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ เช่น วิสัยทัศน์ พันรกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจ เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
๒.๑ พระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕๐
๒.๒ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้(ขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
๒.๕ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญัติคุ้มครองช้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (PDPA)
๒.๗ พระราชบัญญัติวตัวยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕ะว และที่แก้!ขเพิ่มเดิม ๒.๘ พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๙ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ แก้!ขเพิ่มเดิม
๒.๑๐ พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไชเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒
๓. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบ้ติงานด้านคอมพิวเตอร์ เข่น การชัดการฐานข้อมูล โครงสร้างพื้นฐาน ของระบบคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การทำงานชุดคำสั่ง ระบบคอมพิวเตอร์ ชุดคำลังระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบงานคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ระบบการบริหารชัดการเรื่องการบริหารความปลอดภัย (Security Management) ระบบบริหารความเกี่ยง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Risk Management) มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบงานคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ ปัญญาประดิษฐ์ (AI ะ Artificial Intelligence และML ะ Machine Learning)


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเชียน คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจ เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
๒.๑ พระราชบัญญ้ติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕๐
๒.๒ พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แกัเ.ขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการน้านเมีองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๕ พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แกํไขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญ้ติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (PDPA)
๒.๗ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๓. ความรู้ด้านสถิติเบื้องต้น
๔. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมประยุกต์ในงานสำนักงาน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งโดยวิธีการสอบข้อเชียน คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจ เป็นด้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
๒.๑ พระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕0
๒.๒ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้โขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔©
๒.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการน้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
๒.๕ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (PDPA)
๒.๗ ระเบียบส์านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
๒.๘ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
๒.๙ พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖0
๓. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี เข่น
๓.๑ หลักการบัญชีเบื้องต้น
๓.๒ ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
๓.๓ ความรู้เกี่ยวกับการงบประมาณ การเงินการคลังและพัสดุ
๔. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมประยุกตํในงานสำนักงาน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน คะแนนเต็ม
๒00 คะแนน ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสถิติแห่งชาติ เช่น วิสัยทัศน์ หันธกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจ เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น
๒.๑ พระราชบัญญ้ติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕0
๒.๒ พระราชบัญญติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญ้ติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการน้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๕ พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญ้ดิคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ (PDPA)
๒.๗ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๘ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
๒.๙ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๑0 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๓. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมประยุกต์ในงานสำนักงาน


วิธีการสมัครงานข้าราชการ สำนักงานสถิติแห่งชาติ  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 23 ก.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครสำนักงานสถิติแห่งชาติ

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

Comments

comments