กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ลิงค์: https://ehenx.com/17449/ หรือ
ตำแหน่ง: วิศวกรโยธา,นิติกรปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ,นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ,นักวิชาการประมงปฏิบัติการ,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างรังวัดปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 11
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 18 ส.ค. – 7 ก.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งวิศวกรโยธาปฏิบัติการ สังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ด้วยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการในตำแหน่งวิศวกรโยธาปฏิบัติการ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑๐/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ สังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕
ด้วยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล
เข้ารับราชการ สังกัดกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความ ในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐ร/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรือง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันดังกล่าว ดังรายละเอียดต่อไปนี้
วิศวกรโยธา
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นิติกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างรังวัดปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
วิศวกรโยธา
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล ทางวิศวกรรม ชลประทาน หรือทางวิศวกรรมโครงสร้าง และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ กฎหมายกำหนด
นิติกรปฏิบัติการ
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับปริญญาตรี ขึ้นไป และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา
นิติศาสตร์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับปริญญาตรี ขึ้นไป และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับปริญญาตรี ขึ้นไป และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชาได้รับ ปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาสาธารณสุข ศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับปริญญาตรี ขึ้นไป และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิขาได้รับ ปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิขาวิทยาการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาสาธารณสุข ศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือระดับที่สูงกว่า และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง
นายช่างรังวัดปฏิบัติงาน
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับ ประกาศบียบัตรวิชาชีพขั้นสูง หรือระดับที่สูงกว่า และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง
เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน
๑. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ.ในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง หรือระดับที่สูงกว่า และได้รับหนังสือรับรองผลการสอบผ่านการวัดความรู้ ความสามารถทั่วไปจากสำนักงาน ก.พ. เรียบร้อยแล้ว และ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาแปรรูปสัตว์นํ้า สาขาวิชาการควบคุม เรือประมง หรือสาขาวิชาอุตสาหกรรมสัตว์นํ้า
วิศวกรโยธา
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมโยธา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
– ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ศึกษา วางแผน วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบ คำนวณ ประมาณราคา ควบคุม งานก่อสร้าง งานบำรุง งานบูรณะซ่อมแชม งานอำนวยความปลอดภัย งานผังเมืองหรืองานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับ วิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๒) ตรวจสอบ แบบแปลน โครงสร้าง สภาพการใช้งานของอาคารหรือโครงสร้าง พื้นฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
(๓) ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานสำรวจ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ รูปแบบแผนที่ต่าง ๆ ที่ถูกต้อง
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ กำหนด กฎ ระเบียบ มาตรฐาน มาตรการ ที่เกี่ยวข้อง กับวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐาน
(๕) ศึกษา วิจัย และทดสอบวัสดุ ที่ใซ้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาและโครงสร้าง พื้นฐาน เพื่อให้มีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยและประหยัดงบประมาณ
(๖) ตรวจสอบสัญญาก่อสร้าง บำรุง บูรณะซ่อมแซมและอำนวยความปลอดภัย รวมถึงการแก่ไขสัญญางานวิศวกรรมโยธา เพื่อให้งานมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด
– ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
– ด้านการประสานงาน
( ๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
( ๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
– ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานวิศวกรรม โยธาและโครงสร้างพื้นฐานในความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแกหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ทั่วไป เพื่อให้ไต้ข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งการมีส่วนร่วม
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง จัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
นิติกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหากฎหมาย เกี่ยวกับระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเป็นข้อมูลสนับสบุนการ พิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับหน่วยงานที่ รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์และอำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและ เป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษาข้อมูล รวบรวม แสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการ ดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึงการดำเนินการ ใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ และการดำเนินคดีของหน่วยงานเพื่อใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถตำเนินการได้อย่างถูกต้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ ในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับการดำเนินงานของ บุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงาน อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรุปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของ ส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารหรือความมั่นคง
(๒) รวบรวมข้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ ส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหนดแผนการปฏิบัติงานหรือ โครงการให้สามารถบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
(๓) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือ กิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ รวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล และประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำ แผนงานหรือกำหนดยุทธศาสตร์
(๕) ศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาลเพื่อ ประกอบการเสนอแนะแนวทางการประสานผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผล ให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที,รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมถุทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ ในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับการดำเนินงานของ บุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการสิ่งแวดล้อม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยปฏิบัติการเกี่ยวกับการสำรวจ รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประเมินผล ข้อมูลและการดำเนินงาน ติดตามตรวจสอบ สภาวะแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดและปรับปรุง นโยบาย แผน มาตรฐาน มาตรการ แนวทาง หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ เงื่อนไข กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการ สื่อสารและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสำนึกและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดการสิ่งแวดล้อม
(๒) ช่วยติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเสนอความเห็น เพื่อให้เป็นตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อม
(๓) ร่วมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจงและตอบปัญหาเกี่ยวกับงานวิชาการสิ่งแวดล้อม แก่ส่วนราขการ หน่วยงานเอกชนและประชาชนทั่วไป เพื่อให์ได้ความรู้และข้อมูลที่ต้องการ
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น จัดทำสถิติ รายงาน ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงาน วิชาการสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สนับสนุนภารกิจของส่วนราชการ และประโยชน์ในการพิจารณากำหนด และปรับปรุง นโยบาย แผน มาตรฐาน มาตรการ หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ เงื่อนไข และกฎหมายที่เกี่ยวกับงาน วิชาการสิ่งแวดล้อม
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการประมง ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ ทางทะเลและชายฝั่ง
(๒) ดำเนินการตามแผนการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม เพื่อการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืนควบคู,กับการรักษาสภาพแวดล้อม
(๓) ดำเนินการและแล้ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานด้านทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง เพื่อให้งานและอาชีพการประมงมีความยั่งยืนและเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
(๔) ดำเนินการตามแผนการอนุรักษ์และฟืนฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม
(๕) ควบคุม กำกับดูแล การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้เป็นไปตาม ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๖) สำรวจและรวบรวมข้อมูลด้านงานต้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตลอดจน การจัดพื้นที่แหล่งนํ้า เพื่อการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มผลผลิตสัตว์นํ้าในพื้นที่ให้ครอบคลุมอย่างทั่วถึง
(๗) สรุปรายงานเสนอแนะแนวทางการดำเนินงาน การศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และ ตรวจสอบ แล้ปัญหาด้านประมงเพื่อพัฒนาคุณภาพงานให้สูงสุด ถ่ายทอดความรู้ด้านประมงแก่เจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา เช่น ให้คำแนะนำให้การปฏิบัติงาน วางแผนโครงการกำหนดหลักสูตรและผีเกอบรม จัดทำคู่มีอ ประจำสำหรับการผีเกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ใน การปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อบังคับที่กำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานประมงที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบข้อมูล และความรู้ เพื่อนำไปแล้ไขปัญหาและเพื่อให้การบริการเกิดความสะดวก มีความรวดเร็วและโปร่งใส
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานประมง เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และให้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรฐานต่าง ๆ
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรง ตามหลักวิชาช่างความต้องการของหน่วยงานและงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบเพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้างงาน ปรับปรุง และซ่อมแซมหรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับ มอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๔) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษาวิเคราะห์วิจัยในงานด้านช่าง
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบแก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้รับทราบข้อมูลความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นายช่างรังวัดปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างรังวัด ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดำเนินการสำรวจ รังวัด เพื่อทำแผนที่ ในการสอบเขต การออกหนังสือสำคัญสำหรับที่ หลวง ประทานบัตร และการรังวัดทำแผนที่ประเภทอื่น ๆ
(๒) สำรวจ จัดเก็บข้อมูลทางกายภาพจากสภาพพื้นที่ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลและปรับปรุง แผนที่ให้ตรงตามสภาพการใช้ประโยชน์
(๓) รังวัดเพื่อวางโครงหมุดหลักฐานแผนที่ จัดสร้างหรือปรับปรุงระวางแผนที่ ตรวจสอบ และรับรองผลการรังวัด จัดทำบัญชีควบคุมการสร้างและการใช้ระวางแผนที่
(๔) รวบรวมระเบียบและวิธีการรังวัดแผนที่ เพื่อให้เกิดความถูกต้องเหมาะสมกับทุกฝ่าย
(๕) สอบสวน ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทเกี่ยวกับการรังวัดทำแผนที่ของประชาชน หรือ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในระดับเบื้องต้น เพื่อลดความชัดแย้งระหว่างภาครัฐและประชาชน
(๖) จัดเก็บบำรุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์การรังวัดและควบคุมการเบิกจ่ายหลักฐานการ รังวัดต่าง ๆ เพื่อใช้ในการรังวัดทำแผนที่ให้มีประสิทธิภาพ
(๗) ดำเนินการทดสอบความรู้ ตรวจสอบเครื่องมือรังวัด การปฏิบัติงานของช่างรังวัด เอกชน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาเกี่ยวกับงานรังวัดแผนที่ จัดสร้างระวางแผนที่ แนวเขตที่ดิน ของรัฐที่ตนมีความรับผิดชอบ แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับทราบ ข้อมูลเบื้องต้นที่เป็นประโยชน์
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชนหรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือ และร่วมมือในงานรังวัด และแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของ หน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านประมงตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยงานศึกษาทดลองวิเคราะห์และวิจัยทางวิชาการประมงเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ที่เป็นประโยชน์
(๒) ช่วยงานสำรวจศึกษาทดลองวิเคราะห์และวิจัยทางวิชาการเกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์นํ้า และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานด้านระบบนิเวศทางทะเล และชายฝั่ง
(๓) ดำเนินการตามแผนการอนุรักษ์และฟินฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อมเพื่อการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
(๔) จัดทำทะเบียนอื่น ๆ เกี่ยวกับการประมงเพื่อควบคุมให้การดำเนินการต่าง ๆ เป็นไป ตามประกาศและกฎระเบียบของทางราชการ
(๕) รวบรวมข้อมูลและจัดทำรายงานการดำเนินงานเกี่ยวกับการประกอบการประมง เพื่อประกอบการวางแผนและนโยบายของหน่วยงาน
(๖) ดูแลการประกอบการประมงของผู้ประกอบอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าและชาวประมง เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐานและไม่ทำลายสมดุลของสิ่งแวดล้อม
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำและถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาในการปฏิบัติ หน้าที่ เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ถ่ายทอดความรู้ทางด้านประมงแก่ชาวประมงเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพ
(๓) ประสานงานกับหน่วยงานราชการเอกชนหรือประชาชนทั่วไปเพื่อสร้างความร่วมมือ ในงานด้านการประมงและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน
วิศวกรโยธา
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายส่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านวิศวกรโยธา
– ความรู้เกี่ยวกับบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายส่ง
– ความรู้เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมชายส่ง วิศวกรรมฐานรากและปฐพีกลศาสตร์ และวิศวกรรมชลศาสตร์
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการ อื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง
นิติกรปฏิบัติการ
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน
โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไขเพิ่มเติม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม (๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านนิติการที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบปฏิบัติของทางราชการ
– ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย
– ความรู้เกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายแพ่ง
– ความรู้เกี่ยวกับป่าไม้ ป่าสงวนแห่งชาติ และสวนป่า เป็นต้น
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบปฏิบัติของราชการ
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ
สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ
การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที,ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราขการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที,แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที,ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายแพ่ง
– ความรู้เกี่ยวกับป่าไม้ ป่าสงวนแห่งชาติ และสวนป่า เป็นต้น
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบปฏิบัติของราชการ
– ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและขายส่ง
– ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผนที่ใช้ในการปฏิบัติงาน การจัดทำ แผนงานโครงการ การบริหารแผนงานโครงการ การวิเคราะห์และการติดตามประเมินผลโครงการและการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ และนโยบายของ ทางราชการ
– ความรู้เกี่ยวกับการบริหารราชการและงบประมาณ
– เหตุการณ์ปัจจุบันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที,ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ทวงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราขการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบฃ้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติล่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม และพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ -๒๕๖๘๐) ด้านการสร้างการ เติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
– ความรู้เกี่ยวกับแผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
– ความรู้เกี่ยวกับการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
– ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมลพิษ
– ความรู้เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพนํ้า การจัดการคุณภาพอากาศและเสียง และการ จัดการกากของเลียและสาร่อันตราย
– ความรู้เกี่ยวกับอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัด ของเลียอันตรายข้ามแดน อนุสัญญาสดิกโฮล้มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน อนุสัญญารอดเตอร์ดัม ว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช และสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ และอนุสัญญานามาตะว่าด้วยปรอท
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใชในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– พระราขบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านวิชาการประมงที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมและเผยแพร่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
– ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟินฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
– ความรู้เกี่ยวกับสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางทะเล
– ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล
– ความรู้เกี่ยวกับอนุสัญญาระหว่างประเทศที่สำคัญกับงานด้านทะเล
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบทีใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๓๔ และที่แก่ไขเพิ่มเติม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๔๔๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๔๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๔๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๔๔๘(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านช่างโยธาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับงานด้านโยธา
– ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการสำรวจ และการตรวจสอบจัดทำแผนที่
– ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
– เหตุการณ์ปัจจุบันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
นายช่างรังวัดปฏิบัติงาน
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านช่างรังวัดที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับงานวงรอบ งานโครงข่ายสามเหลี่ยม การวัดมุมและปรับแก้มุม การวัดระยะและปรับแก้ระยะชั้น หรือเกณฑ์ของงานวงรอบ การทำแผนที่รายละเอียด
– ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณและเขียนแผนที่ เป็นการคำนวณเนื้อที่จากค่าพิกัด โดยวิธีพิกัดฉาก หลักการเขียนแผนที่ภูมิประเทศจากข้อมูลสำรวจ
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการรังวัดหมุดหลักฐาน และการรังวัดทำแผนที่ด้วยระบบ ดาวเทียม การทำแผนที่
– เหตุการณ์ปัจจุบันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรทางทะเล และขายส่ง
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยขน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน
๑. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม๒00 คะแนน โดยวิธีการสอบซ้อเขียน ประกอบด้วย
(๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบทีใช้ในการปฏิบัติราชการ
– พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านประมงที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานเบื้องต้นด้านการประมง
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการประมง
– ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟินฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
– เหตุการณ์ปัจจุบันทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง
๒. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยวิธีการสอบ สัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจ ใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจเป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะหลักและสมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 18 ส.ค. – 7 ก.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | file 2 | เว็บรับสมัคร