Categories
งานราชการเปิดสอบ-รัฐวิสาหกิจ เปิดสอบ ทั่วไป

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-30 มี.ค. 2564 รวม 63 อัตรา,

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

ลิงค์: https://ehenx.com/13188/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการคอมพิวเตอร์,นักวิชาการเงินและบัญชี,นักจิตวิทยา,นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ(ด้านพ่อบ้าน),นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ(ด้านสามัญ),เจ้าพนักงานธุรการ,เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ(พ่อบ้าน),เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ(ผู้ช่วยแม่บ้าน),พนักงานพินิจ(ชาย),พนักงานพินิจ(หญิง)
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 13,800-19,500
อัตราว่าง: 63
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร,ขอนแก่น,เชียงใหม่,นครปฐม,นครราชสีมา,นครสวรรค์,ระยอง,ราชบุรี,สงขลา,สุราษฎร์ธานี,อุบลราชธานี
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 30 มี.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรและจัดจ้างเป็นพนักงานราชการทั่วไป ในสังกัดกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม

ด้วยกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ประสงค์จะรับบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภททั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนด ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะ ของกลุ่มงานและการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ประเภท : วิชาชีพเฉพาะ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเงินและบัญชี

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักจิตวิทยา

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านพ่อบ้าน)

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านสามัญ)

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


เจ้าพนักงานธุรการ

ประเภท : บริการ 

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยพ่อบ้าน)

ประเภท : บริการ 

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยแม่บ้าน)

ประเภท : บริการ 

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


พนักงานพินิจ (ชาย)

ประเภท : บริการ 

อัตราว่าง : 27 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


พนักงานพินิจ (หญิง)

ประเภท : บริการ 

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ 


นักวิชาการเงินและบัญชี

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการบัญชี สาขาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 


นักจิตวิทยา

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก 


นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านพ่อบ้าน)

  • ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา
  • เฉพาะเพศชาย อายุ 25- 35 ปี
  • เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า 160 ซ.ม. และรอบอกชนาด 80 ซ.ม. แต่ถ้าชนาด ชองสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดให้!ว้ไม่เกิน 2 ซ.ม. ก็ให้!ฃ้ได็โดยอนุโลม 

นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านสามัญ)

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ 


เจ้าพนักงานธุรการ

ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือได้รับอนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตร ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา 


เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยพ่อบ้าน)

  • ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เท่านั้น
  • เฉพาะเพศชาย อายุ ๒๕- ๓๕ ปี
  • เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ซ.ม. และรอบอกขนาด ๘๐ ซ.ม. แต่ถ้าขนาด ของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดให้!ว้ไม่เกิน ๒ ซ.ม. ก็ให้ใช้ได้โดยอนุโลม 

เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยแม่บ้าน)

  • ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เท่านั้น
  • เฉพาะเพศหญิง อายุ ๒๕- ๓๕ ปี
  • เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๕๕ ซ.ม. แต่ถ้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่า ที่กำหนดให้ไว้ไม่เกิน ๒ ซ.ม. ก็ให้ใช้ได้โดยอนุโลม 

พนักงานพินิจ (ชาย)

  • ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เท่านั้น
  • เฉพาะเพศชาย อายุ ๒๕- ๓๕ ปี
  • เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ซ.ม. และรอบอกขนาด ๘๐ ซ.ม. แต่ถ้าขนาดของ สัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดให้[วิไม่เกิน ๒ ซ.ม. ก็ให้ใช้ไดโดยอนุโลม

พนักงานพินิจ (หญิง)

  • ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เท่านั้น
  • เฉพาะเพศหญิง อายุ ๒๕- ๓๕ ปี
  • เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๕๕ ซ.ม. แต่ถ้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่า ที่กำหนดให้ไวิไม่เกิน ๒ ซ.ม. ก็ให้ใช้ไดโดยอนุโลม

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ด้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับดูแล แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูประบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
  2. ประมวลผลและปรับปรุงแกไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
  3. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความ ถูกต้องและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
  4. เขียนชุดคำสั่ง ตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
  6. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์และระบบข้อมูลของ หน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความ ต้องการของหน่วยงาน
  7. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์เพื่อให้1ด้ระบบงาน ประยุกต์ตรงตามคุณลักษณะงานและความต้องการของหน่วยงาน
  8. รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะงานเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ การติดตั้งระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เพื่อให้1ด้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตาม ความต้องการใช้ของหน่วยงาน
  9. ช่วยตรวจสอบ สืบด้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่ เหมาะสมขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ของข้อมูลหรือระบบ
  10. บำรุงรักษา สภาพเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ระบบเครือข่าย งานสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพและพร้อมใช้งาน
  11. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

2. ด้านการวางแผน

  1. จัดทำแผนปฏิบัติงานที่ได้รับผิดชอบทั้งในระยะสั้น ระยะยาว เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุ เป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
  2. ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานของกลุ่มงาน หน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป ตามเป้าหมายและผลส้มฤทธที่กำหนด

3. ด้านการประสานงาน

  1. ประสานงานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลส้มฤทธตามที่กำหนด
  2. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหารือ ความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

4. ด้านการบริการ

  1. ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
  3. 3ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้สนใจ

นักวิชาการเงินและบัญชี

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ด้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบของผู้บังคับบัญชา เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการเงิน และบัญชีของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หลักเกณฑ์ และแนวทางที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน บัญชีและ งบประมาณ ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเรียน ตามระเบียบ แนวทาง วิธีการทางบัญชีที่เกี่ยวข้อง หรือที่หน่วยงานกำหนด เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชีของ หน่วยงาน
  2. ตรวจสอบเอกสารใบสำคัญการเบิกจ่ายเงิน การคำนวณและตรวจสอบรายได้เพื่อเรียกเก็บเงิน รายได้จากคู่สัญญา เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินการเป็นไปตามมาตรฐาน มีเอกสาร ใบสำคัญการเบิกเงินที่ถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบ
  3. รวบรวมข้อมูลประกอบการจัดทำรายการับ-จ่าย เงินทดรองราชการ การวิเคราะห์งบการเงิน เพื่อให้การรับ-จ่ายเกิดประสิทธิภาพ ถูกต้องตามระเบียบ
  4. ตรวจสอบข้อมูลในระบบบริหารเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในทุกประเภท ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เพื่อให้มีข้อมูลถูกต้อง เป็นปัจจุบันสามารถไปใช้ในการบริหารและจัดทำด้นทุน ผลผลิตได้อย่างถูกต้อง
  5. ตรวจสอบและติดตามผลการใช้จ่ายเงินในงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้การใช้จ่ายเงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
  6. ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับและจ่ายเงิน เพื่อให้การรับและจ่ายเงินของหน่วยงานมีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้องกำหนด
  7. รวบรวมข้อมูลและประมาณการการใช้จ่ายเงินงบประมาณ เพื่อร่วมจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ ประจำปีงบประมาณลัดไปของหน่วยงาน
  8. ติดตามและเร่งรัดการชำระหนี้ลูกหนี้เงินยืมทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ เพื่อให้ การเร่งรัดชำระหนี้สอดคล้องกับความจำเป็นและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
  9. ติดตามผลการใช้จ่ายเงินในงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้การใช้ จ่ายเงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
  10. 10 ร่วมส่งเสริม แกไขบำบัดฟืนฟูเด็กหรือเยาวชน เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนได้รับการปฏิบัติตาม มาตรฐานขั้นตํ่าขององค์การสหประชาชาติ
  11. 11 ร่วมจัดทำด้นทุนต่อหน่วยผลผลิต เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางกำหนด
  12. 12 ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

2. ด้านการวางแผน

  1. จัดทำแผนปฏิบัติงานของตนเองทั้งในระยะสั้น ระยะยาว
  2. ร่วมวางแผนการใช้จ่ายเงินในงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณของหน่วยงานหรือ ร่วมดำเนินการวางแผนการปฏิบัติงานของกลุ่มงาน/ฝ่าย หน่วยงาน หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด

3. ด้านการประสานงาน

  1. ประสานความร่วมมือด้านการเงิน บัญชีและงบประมาณแก่บุคลากร ทั้งภายใน และภายนอก หน่วยงานเพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชีและงบประมาณเกิดผลสัมฤทธตามที่กำหนด
  2.    ชี้แจง และให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง คำแนะนำเบื้องด้น แก่บุคคลหรือ
    หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

4. ด้านการบริการ

  1. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องด้น หรือถ่ายทอดความรู้ หรืออำนวยการถ่ายทอดฟิกอบรมแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชน ทั่วไป เพื่อให้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้ด้านการเงินและบัญชีและความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง

นักจิตวิทยา

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ด้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการพัฒนา รูปแบบ เครื่องมือ กำหนดมาตรฐาน กระบวนการแนวทางปฏิบัติงานด้านจิตวิทยา เพื่อการสงเคราะห์ แกไขบำบัด ฟืนฟู ตลอดจนส่งเสริมป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตของเด็กหรือเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม รวมทั้งปฏิบัติงาน ด้านชุมชนและประสานความร่วมมือด้านจิตวิทยาเพื่อการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิเด็ก และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับ มอบหมาย

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ประเมิน สำรวจ วิเคราะห์ สภาวะสุขภาพจิตด้วยวิธีการทางจิตวิทยา เพื่อศึกษาสภาวะ สุขภาพจิต กลไกหรือสาเหตุการกระทำผิด และประเมินความเสี่ยงในการกระทำความผิดของเด็กหรือเยาวชนในระดับ เบื้องด้น
  2. ให้คำปรึกษา แนะแนวฟืนฟูสภาวะทางจิตใจ อารมณ์ สังคม และส่งเสริมพัฒนาการเบื้องด้น เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ยอมรับการปรับเปลี่ยน อารมณ์ พฤติกรรม ความคิดหรือ วิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสม
  3. ส่งเสริม ป้องกัน เฝ็าระวัง แก้ไขปัญหาพฤติกรรม สุขภาพจิตของเด็กหรือเยาวชน ชุมชน หรือ บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้วยเครื่องมือและกระบวนการทางจิตวิทยาเบื้องด้น
  4. รวบรวมข้อมูล สถิติ เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านจิตวิทยาสำหรับเด็กหรือเยาวชนที่กระทำ ความผิด เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาในกระบวนการยุติธรรมเด็กหรือเยาวชน ให้สอดคล้องกับแนวโน้มสภาพปัญหาการกระทำความผิดของเด็กหรือเยาวชน
  5. ปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรวิชาชีพในฐานะคณะกรรมการนักวิชาชีพ /สหวิชาชีพ เพื่อเสนอ ข้อมูลและให้ความเห็นทางด้านจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการแก้ไขบำบัดฟืนฟู
  6. รวบรวมข้อมูล สรุปสถิติ รายงานผลการปฏิบัติงานทางจิตวิทยาเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงาน
  7. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการวางแผน

  1. จัดทำแผนปฏิบัติงานของตนเอง ทั้งในระยะสั้น ระยะยาว
  2. ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานของกลุ่มงาน หน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด

3. ด้านการประสานงาน

  1. ปฏิบัติงานประสานความร่วมมือ และติดตามการดำเนินงาน เพื่อการแก้ไขบำบัดฟืนฟู พิทักษ์ และคุ้มครองสิทธิเด็ก เยาวชนและผู้เยาว์ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและทิศทางการดำเนินงานให้เป็นไปตามที่กำหนด
  2. ชี้แจงและให้รายละเอียด เกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริงแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

4. ด้านการบริการ

  1. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการด้านจิตวิทยาสำหรับเด็กหรือเยาวชนที่กระทำผิด ในกระบวนการยุติธรรมเด็กหรือเยาวชน แก่บุคคล ผู้มาขอรับบริการ หรือศึกษาดูงานจากหน่วยงานและองค์กรต่างๆ
  2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้วิชาการด้านจิตวิทยาและวิชาการที่เกี่ยวข้อง
    คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
    ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก

นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านพ่อบ้าน)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในงานพัฒนาพฤตินิสัย การแกไช บำบัด ฟินฟูและพัฒนา ให้การอภิบาล ดูแลและจัดหาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งชองเครื่องใช้ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ให้เด็กหรือเยาวชนที่อยู่ในความควบคุม ตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ พฤติกรรมความประพฤติชองเด็กหรือเยาวชน พร้อมรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำ รายงานประเมินพฤติกรรมเด็กหรือเยาวชน ประกอบการพิจารณาในการแกไช บำบัด ฟินฟูเด็กหรือเยาวชน ตลอดจนติดตาม ประเมินผลการแกไช บำบัด ฟินฟูอย่างต่อเนื่อง
  2. ปกครองดูแล ให้การอภิบาล การพินิจและการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน กิน อยู่ หลับ นอน เพื่อให้ เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน ตามกฎหมาย และตามคู่มือการปฏิบัติงานที่หน่วยงานกำหนด
  3. ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนปลูกสงคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนเกิดการ พัฒนาทางด้านร่างกาย และจิตใจ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย
  4. ควบคุมดูแล เสาระวังเด็กหรือเยาวชน เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กหรือเยาวชนก่อความไม่สงบก่อเหตุร้าย หรือหลบหนี
  5. ปฏิบัติงานร่วมกับคณะกรรมการนักวิชาชีพ สหวิชาชีพ เพื่อเสนอข้อมูลและให้ความเห็น เกี่ยวกับการ แก้!ช บำบัด ฟินฟูเด็กหรือเยาวชน
  6. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมฐานข้อมูล และสถิติเกี่ยวกับการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุงและพัฒนา เครื่องมือ คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน สื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานพัฒนาพฤตินิสัย
  7. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการวางแผน

  1. จัดทำแผนปฏิบัติงานชองตนเองทั้งในระยะสั้น ระยะยาว
  2. ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานชองกลุ่มงาน หน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตาม เป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด

3. ด้านการประสานงาน

  1. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอก หน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธึ๋ในการดำเนินงานด้านงานอภิบาลและการพินิจ
  2. ชี้แจงและให้รายละเอียด เกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความ ร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

4.  ด้านการบริการ

  1. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานและองค์กรต่างๆ เกี่ยวกับแนวทาง การ ดำเนินงานด้านพัฒนาพฤตินิสัย เด็กและเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
  2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้วิชาการด้านพัฒนาพฤตินิสัยหรือวิชาการที่เกี่ยวข้อง

นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านสามัญ)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ด้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการจัด การศึกษาวิชาสามัญและการฟิกวิชาชีพ การอบรมพัฒนาพฤตินิสัย เพื่อให้การสงเคราะห์ การแก่ไข บำบัด ฟืนฟูให้เด็ก หรือเยาวชนที่ที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม พัฒนา ระบบ รูปแบบ เครื่องมือ กำหนดมาตรฐาน กระบวนการ ตลอดจน การจัดหาเครื่องมือ เครื่องใช้เพื่อการอบรมและฟิกวิชาชีพ รวมทั้งสื่อสารกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการพัฒนา พฤตินิสัย และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ พฤติกรรมความประพฤติของเด็กและเยาวชน พร้อม รวบรวมข้อมูล ทางด้านพัฒนาพฤตินิสัยและแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัฒนาพฤตินิสัย เพื่อจัดทำรายงาน การจำแนกประเภทเด็กหรือเยาวชนเข้ารับการศึกษาและฟิกอาชีพ การแกไข บำบัด ฟืนฟู พัฒนารูปแบบ เครื่องมือ กำหนดมาตรฐาน กระบวนการ แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัฒนาพฤตินิสัยตลอดจนติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
  2. จัดทำแผนจัดการศึกษาวิชาสามัญและการฟิกวิชาชีพ แก่เด็กหรือเยาวชน เพื่อให้โอกาส ทางการศึกษาแก่เด็กหรือเยาวชน เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน ตามกฎหมาย และตามคู่มือการ ปฏิบัติงานที่หน่วยงานกำหนด
  3. สรุปผลการศึกษาวิชาสามัญและการฟิกวิชาชีพ ของเด็กหรือเยาวชน เพื่อประกอบการจัดทำ รายงานผลการ แก่ไข บำบัดฟืนฟู
  4. ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนปลูกผิงคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนเกิด การพัฒนาทางด้านร่างกาย และจิตใจ ประพฤติปฏิบัติอยู่ในระเบียบ วินัย
  5. ควบคุมดูแล เฝืาระวังเด็กหรือเยาวชน เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กหรือเยาวชนก่อความไม่สงบ ก่อเหตุร้าย หรือหลบหนี
  6. ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการนักวิชาชีพ สหวิชาชีพ เพื่อเสนอข้อมูลและให้ความเห็น เกี่ยวกับ การแก่ไข บำบัด ฟืนฟู แผนการให้บริการทางทางด้านพัฒนาพฤตินิสัยเด็กหรือเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
  7. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมฐานข้อมูล และสถิติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการศึกษาวิชาสามัญ และการฟิกวิชาชีพ ด้านพัฒนาพฤตินิสัย เพื่อปรับปรุงและพัฒนา เครื่องมือ คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน สื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานการศึกษาวิชาสามัญและการฟิกวิชาชีพ และวิเคราะห์ ร่วมกับองค์กรความรู้และงาน วิชาการที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิดของเด็กหรือเยาวชน เพื่อพัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานด้านพัฒนาพฤตินิสัย ในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน ให้สอดคล้องกับแนวโน้มสภาพปัญหาการกระทำผิดของเด็กหรือเยาวชน
  8. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการวางแผน

  1. จัดทำแผนปฏิบัติงานของตนเองทั้งในระยะสั้น ระยะยาว
  2. ร่วมวางแผนการปฏิบัติงานของกลุ่มงาน หน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด 

3. ด้านการประสานงาน

  1. ปฏิบัติงานประสานความร่วมมือและติดตามการดำเนินงานด้านพัฒนาพฤตินิสัยทั้งภายในและ ภายนอก หน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและทิศทางในการดำเนินงานด้านการศึกษาวิชาสามัญและการฟิกวิชาชีพ ให้เป็นไปตามระบบงานที่กำหนด
  2. ประสานงานทางด้านวิชาการเกี่ยวกับงานสวัสดิการและพัฒนาพฤตินิสัยกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกองค์กร เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความร่วมมือในการสงเคราะห์ ช่วยเหลือเด็กและ เยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม

4. ด้านการบริการ

  1. ให้คำปรึกษา แนะนำและสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านพัฒนาพฤตินิสัย ตลอดจนให้บริการทาง วิชาการการดำเนินงานด้านพัฒนาพฤตินิสัยเด็กและเยาวชนในกระบวนการการยุติธรรม แก่บุคลากรของ กรมพินิจฯ หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ
  2. ให้คำปรึกษา แนะนำ ทางวิชาการด้านพัฒนาพฤตินิสัยสำหรับเด็กหรือเยาวชนที่กระทำ ความผิดและกระบวนการยุติธรรมเด็กหรือเยาวชน แก่ผู้มาขอรับบริการ หน่วยงานและองค์กรต่างๆ หรือเพื่อ การศึกษาดูงาน
  3. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้วิชาการด้านพัฒนาพฤตินิสัยหรือวิชาการที่เกี่ยวข้อง

เจ้าพนักงานธุรการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้ การกำกับ แนะนำ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่นและ มีหลักฐานตรวจสอบได้
  2. รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวก ต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
  3. ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
  4. รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้อำนวยการ เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
  5. ปฏิบัติงานด้านธุรการคดี เพื่อให้สามารถบริหารจัดการด้านงานธุรการคดี เป็นไปตามขั้นตอน อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธตามเป้าหมาย
  6. ร่วมสนับสนุนในการดำเนินการ แก่ไขบำบัดฟ้นฟูเด็กหรือเยาวชน เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนได้รับ การปฏิบัติตามมาตรฐาน
  7. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการบริการ

  1. ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
  2. ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้!ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
  3. ผลิต/จัดทำเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการงานตามภารกิจของหน่วยงาน และ ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยพ่อบ้าน)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานพัฒนาพฤตินิสัย การแก่ไข บำบัด ฟืนฟูและพัฒนา ให้การอภิบาล ดูแลและจัดหาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ให้เด็กหรือเยาวชนที่อยู่ในความควบคุม ตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็ก หรือเยาวชน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน  

  1. ศึกษา วิเคราะห์ พฤติกรรมความประพฤติของเด็กหรือเยาวชน พร้อมรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำรายงานประเมินพฤติกรรมเด็กหรือเยาวชน ประกอบการพิจารณาในการแกไข บำบัด ฟืนฟูเด็กหรือเยาวชน ตลอดจนติดตามประเมินผลการแกไข บำบัด ฟืนฟูอย่างต่อเนื่อง
  2. ปกครองดูแล ให้การอภิบาล การพินิจ และการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน กิน อยู่ หลับ นอน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน ตามกฎหมาย และตามคู่มือการปฏิบัติงานที่หน่วยงาน กำหนด
  3. ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนปลูกผิงคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนเกิด การพัฒนาทางด้านร่างกาย และจิตใจ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย
  4. ควบคุมดูแล เฝืาระวังเด็กหรือเยาวชน เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กหรือเยาวชนก่อความไม่สงบ ก่อเหตุร้าย หรือหลบหนี
  5. ปฏิบัติงานร่วมกับคณะกรรมการนักวิชาชีพ /สหวิชาชีพ เพื่อเสนอข้อมูลและให้ความเห็น เกี่ยวกับการแก่ไขบำบัดฟืนฟูเด็กหรือเยาวชน
  6. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมฐานข้อมูล และสถิติเกี่ยวกับการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุงและพัฒนา เครื่องมือ คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน สื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานพัฒนาพฤตินิสัย
  7. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการบริการ

  1. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานและองค์กรต่างๆ เกี่ยวกับแนวทาง การดำเนินงานด้านงานอภิบาลและการพินิจ เด็กหรือเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
  2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้วิชาการด้านงานอภิบาลและการพินิจ หรือวิชาการที่เกี่ยวข้อง

ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ

เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในสถานควบคุมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานใน สถานที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์ และตรากตรำ โดยจะมีการปฏิบัติงานช่วงเวลาตามที่กำหนด


เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยแม่บ้าน)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานพัฒนาพฤตินิสัย การแก่ไข บำบัด ฟืนฟูและพัฒนา ให้การอภิบาล ดูแลและจัดหาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ให้เด็กหรือเยาวชนที่อยู่ในความควบคุม ตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็ก หรือเยาวชน

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ พฤติกรรมความประพฤติของเด็กหรือเยาวชน พร้อมรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำรายงานประเมินพฤติกรรมเด็กหรือเยาวชน ประกอบการพิจารณาในการแกไข บำบัด ฟืนฟูเด็กหรือเยาวชน ตลอดจนติดตามประเมินผลการแกไข บำบัด ฟืนฟูอย่างต่อเนื่อง
  2. ปกครองดูแล ให้การอภิบาล การพินิจ และการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน กิน อยู่ หลับ นอน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชน ตามกฎหมาย และตามคู่มือการปฏิบัติงานที่หน่วยงาน กำหนด
  3. ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนปลูกผิงคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กหรือเยาวชนเกิด การพัฒนาทางด้านร่างกาย และจิตใจ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย
  4. ควบคุมดูแล เฝืาระวังเด็กหรือเยาวชน เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กหรือเยาวชนก่อความไม่สงบ ก่อเหตุร้าย หรือหลบหนี
  5. ปฏิบัติงานร่วมกับคณะกรรมการนักวิชาชีพ /สหวิชาชีพ เพื่อเสนอข้อมูลและให้ความเห็น เกี่ยวกับการแก่ไขบำบัดฟืนฟูเด็กหรือเยาวชน
  6. ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมฐานข้อมูล และสถิติเกี่ยวกับการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุงและพัฒนา เครื่องมือ คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน สื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานพัฒนาพฤตินิสัย
  7. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการบริการ

  1. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานและองค์กรต่างๆ เกี่ยวกับแนวทาง การดำเนินงานด้านงานอภิบาลและการพินิจ เด็กหรือเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
  2. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความรู้วิชาการด้านงานอภิบาลและการพินิจ หรือวิชาการที่เกี่ยวข้อง

ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ

เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในสถานควบคุมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานใน สถานที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์ และตรากตรำ โดยจะมีการปฏิบัติงานช่วงเวลาตามที่กำหนด


พนักงานพินิจ (ชาย)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงานด้าน การรักษาการณ์เพื่อป้องกันการไม่ให้เด็กและเยาวชนหลบหนี การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสถานควบคุมและ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ปฏิบัติงานในการรักษาการณ์เพื่อป้องกันการไม่ให้เด็กและเยาวชนหลบหนี การรักษาความสงบ เรียบร้อยภายในสถานควบคุม
  2. รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อสะดวก ต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการร่วมกิจกรรมบำบัด แกไข ฟ้นฟูกับนักวิชาการอบรมและฟิกวิชาชีพหรือ วิชาอื่น เพื่อให้งานการบำบัด แกไขฟ้นฟูมีประสิทธิภาพ
  3. ร่วมกิจกรรมบำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนตามโปรแกรมบำบัดยาเสพติดของกรมพินิจฯ เพื่อให้ งานการบำบัด ฟ้นฟูเด็กและเยาวชนที่ติดยาเสพดิดมีประสิทธิภาพ
  4. เป็นผู้ช่วยนักวิชาการอบรมและฟิกวิชาชีพ (พ่อบ้าน- แม่บ้าน) ในงานการอภิบาลเด็กและ เยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการดูแลอย่างครบถ้วนและมีมาตรฐานตามมาตรฐานขั้นตํ่าตามองค์การ สหประชาชาติ
  5. ควบคุม ดูแลเด็กและเยาวชนในการทำกิจกรรมนอกสถานที่ เพื่อป้องกันการหลบหนี
  6. การวางแผนควบคุม ดูแลเด็กและเยาวชนมิให้หลบหนี ตลอดจนวางแผนป้องกันการเกิดเหตุ ฉุกเฉิน เพื่อให้การดำเนินการป้องกันการหลบหนีหรือเหตุร้ายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นมีระบบอันส่งผลต่อประสิทธิภาพ ของหน่วยงาน
  7. ประสานกับส่วนต่าง ๆ ในหน่วยงานเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความสะดวกและ มีประสิทธิภาพ
  8. ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก ในกรณีที่นำเด็กและเยาวชนไปกิจกรรมนอกสถานที่ เพื่อ จัดระบบในการป้องกันการหลบหนีของเด็กและเยาวชน
  9. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการบริการ

  1.  ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การ
    ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
  2. ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้!ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ

เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในสถานควบคุมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยจะมีรอบ ความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์ และปฏิบัติงานเป็นผลัดหรือกะ


พนักงานพินิจ (หญิง)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงานด้าน การรักษาการณ์เพื่อป้องกันการไม่ให้เด็กและเยาวชนหลบหนี การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสถานควบคุมและ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ปฏิบัติงานในการรักษาการณ์เพื่อป้องกันการไม่ให้เด็กและเยาวชนหลบหนี การรักษาความสงบ เรียบร้อยภายในสถานควบคุม
  2. รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อสะดวก ต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการร่วมกิจกรรมบำบัด แกไข พื้เนฟูกับนักวิชาการอบรมและฟิกวิชาชีพหรือ วิชาอื่น เพื่อให้งานการบำบัด แกไขฟ้นฟูมีประสิทธิภาพ
  3. ร่วมกิจกรรมบำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนตามโปรแกรมบำบัดยาเสพติดของกรมพินิจฯ เพื่อให้ งานการบำบัด ฟ้นฟูเด็กและเยาวชนที่ติดยาเสพดิดมีประสิทธิภาพ
  4. เป็นผู้ช่วยนักวิชาการอบรมและฟิกวิชาชีพ (พ่อบ้าน- แม่บ้าน) ในงานการอภิบาลเด็กและ เยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการดูแลอย่างครบถ้วนและมีมาตรฐานตามมาตรฐานขั้นตํ่าตามองค์การ สหประชาชาติ
  5. ควบคุม ดูแลเด็กและเยาวชนในการทำกิจกรรมนอกสถานที่ เพื่อป้องกันการหลบหนี
  6. การวางแผนควบคุม ดูแลเด็กและเยาวชนมิให้หลบหนี ตลอดจนวางแผนป้องกันการเกิดเหตุ ฉุกเฉิน เพื่อให้การดำเนินการป้องกันการหลบหนีหรือเหตุร้ายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นมีระบบอันส่งผลต่อประสิทธิภาพ ของหน่วยงาน
  7. ประสานกับส่วนต่าง ๆ ในหน่วยงานเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความสะดวกและ มีประสิทธิภาพ
  8. ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก ในกรณีที่นำเด็กและเยาวชนไปกิจกรรมนอกสถานที่ เพื่อ จัดระบบในการป้องกันการหลบหนีของเด็กและเยาวชน
  9. ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา

2. ด้านการบริการ

  1. ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การ
    ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
  2. ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
    ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
    เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในสถานควบคุมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยจะมีรอบ ความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์ และปฏิบัติงานเป็นผลัดหรือกะ

วิชาที่สอบ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. ตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และที่แกไขเพิ่มเดิม
  2. พระราชบัญญัติลิขสิทธ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558
  3. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
  4. การบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร
  5. ความรู้และความเข้าใจเรื่องคุณสมบัติ ประเภท และวิธีการทำงานของ Hardware, Software หรือ Network
  6. สามารถบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ด้าน Hardware, Software หรือ Network
  7. ความรู้ความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ (PHP, Java , SQL)

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน


นักวิชาการเงินและบัญชี

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 – หมวดที่ 1 บททั่วไป
  3. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  4. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  5. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  6. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  7. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  8. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  9. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  10. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. บัญชีเบื้องด้น
  2. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  3. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561
  4. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561
  5. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและ การนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2562
  6. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  7. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ.2562
  8. กฎกระทรวง ประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านพัสดุ

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน


นักจิตวิทยา

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. จิตวิทยาในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
  2. การประเมินและทดสอบทางจิตวิทยาคลินิก
  3. การบำบัดและพื้เนฟูสภาพจิตใจด้วยทฤษฏีและเทคนิคทางจิตวิทยา นิติจิตวิทยา (Forensic Psychology)
  4. เกณฑ์การตรวจวินิจฉัยโรคทางจิตเวช (DSM-V) และปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อยในเด็กและวัยรุ่น
  5. แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน
  6. หลักจรรยาบรรณสำหรับนักจิตวิทยาและมาตรฐานการประพฤติปฏิบัติตน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน


นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านพ่อบ้าน)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการอนุญาตให้เด็กหรือเยาวชนออกนอกสถานพินิจ เป็นครั้งคราว พ.ศ.2554
  2. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  3. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  4. งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม
  5. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพ (ด้านสามัญ)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  2. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  3. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

เจ้าพนักงานธุรการ

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. งานธุรการและงานสารบรรณ
  2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแกไขเพิ่มเดิม
  3. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  4. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน


เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยพ่อบ้าน)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการอนุญาตให้เด็กหรือเยาวชนออกนอกสถานพินิจ เป็นครั้งคราว พ.ศ.2554
  2. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  3. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  4. งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม
  5. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ช่วยแม่บ้าน)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการอนุญาตให้เด็กหรือเยาวชนออกนอกสถานพินิจ เป็นครั้งคราว พ.ศ.2554
  2. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  3. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  4. งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม
  5. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

พนักงานพินิจ (ชาย)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  2. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  3. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

พนักงานพินิจ (หญิง)

1. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 1 สอบข้อเขียน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

1.1 ความรู้ที่จำเป็นและความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการสอบ

  1. จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น
  2. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553
  3. หมวดที่ 1 บททั่วไป
  4. หมวดที่ 3 สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  5. หมวดที่ 4 ศูนย์ฟิกและอบรม สถานศึกษา สถานฟิกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต
  6. หมวดที่ 5 การฟิกอบรม
  7. พระราชบัญญัติการบริหารการแกไข บำบัด พื้เนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
  8. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
  9. ว่าด้วยการดำเนินงานสถานแรกรับและศูนย์ฟิกและอบรมเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2547
  10. ว่าด้วยสิ่งของต้องห้ามในสถานที่ควบคุม พ.ศ. 2556
  11. ความรู้พื้นฐานด้าน Computer

1.2 ความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและระเบียบราชการสำหรับการปฏิบัติงาน

  1. ระเบียบกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่เด็กและเยาวชน
    ที่อยู่ในการควบคุม พ.ศ.2549
  2. การดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์
  3. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การสังเกตพฤติกรรมเด็กและเยาวชน

2. การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 สอบสัมภาษณ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ประกอบการประเมินความรู้ ความลามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ 2 ลอบสัมภาษณ์)

เพศชาย เพศหญิง

– ลุก-นั่ง 30 วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิง 1,000 เมตร
(1,000 Meters Run)

– ลุก-นั่ง30วินาที
(30 Seconds Sit-up)
– วิ่งเก็บของ 10 เมตร
(Shuttle run 10 Meters)
– วิ่งเร็ว 50 เมตร
(50 Meters Sprint)
– วิ่ง 800 เมตร
(800 Meters Run)

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 30 มี.ค. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

แผนที่ ประกาศ 1 | 2 | 3 | เว็บรับสมัคร |

Comments

comments